Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/11391
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorจำเนียร ราชแพทยาคม, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorศิริรักษ์ สุนธงศิริ, 2515--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.date.accessioned2024-02-02T07:23:52Z-
dc.date.available2024-02-02T07:23:52Z-
dc.date.issued2565-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/11391-
dc.description.abstractการศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) ระดับสมรรถนะของพยาบาลวิชาชีพในทัณฑสถานโรงพยาบาลราชทัณฑ์ (2) ระดับความคิดเห็นด้านปัจจัยด้านบรรยากาศองค์การและปัจจัยด้านการเสริมพลังอำนาจพยาบาลวิชาชีพในทัณฑสถานโรงพยาบาลราชทัณฑ์ (3) ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยด้านบรรยากาศองค์การและปัจจัยด้านการเสริมพลังอำนาจกับสมรรถนะของพยาบาลวิชาชีพในทัณฑสถานโรงพยาบาลราชทัณฑ์ และ (4) ปัญหาและเสนอแนะแนวทางในการเสริมสร้างสมรรถนะของพยาบาลวิชาชีพในทัณฑสถานโรงพยาบาลราชทัณฑ์ การศึกษานี้เป็นการวิจัยเชิงปริมาณ ประชากรคือพยาบาลวิชาชีพที่ปฏิบัติงานในทัณฑสถานโรงพยาบาลราชทัณฑ์ จำนวน 139 คน โดยศึกษาจากประชากรทั้งหมด เครื่องมือใช้ในการศึกษาคือแบบสอบถาม สถิติที่ใช้ในการศึกษา ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์ค่าประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน ผลการศึกษาพบว่า (1) ในภาพรวมพยาบาลวิชาชีพมีสมรรถนะอยู่ในระดับมาก โดยด้านที่มีค่าเฉลี่ยสูงที่สุดได้แก่ ด้านการปฏิบัติการพยาบาลและผดุงครรภ์ (2) ความคิดเห็นด้านปัจจัยบรรยากาศองค์การ อยู่ในระดับมาก โดยด้านที่มีค่าเฉลี่ยสูงที่สุดคือ ด้านโครงสร้าง และด้านการเสริมพลังอำนาจของพยาบาลวิชาชีพ อยู่ในระดับมาก โดยด้านที่มีค่าเฉลี่ยสูงที่สุด คือ ด้านการได้เพิ่มพูนความสามารถและทักษะ (3) ปัจจัยด้านบรรยากาศองค์การและปัจจัยการเสริมพลังอำนาจมีความสัมพันธ์ทางบวกอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 และ (4) ข้อเสนอแนะคือ ควรเพิ่มพูนการพัฒนาสมรรถนะวิชาชีพด้านความรู้ ทักษะ ทัศนคติ และเทคโนโลยีสารสนเทศในงานพยาบาลควรนำกรอบสมรรถนะมาใช้เป็นตัวชี้วัดเพื่อวัดผลสัมฤทธิ์ขององค์การ ส่งสริมให้เกิดการประเมินผลปฏิบัติงานตามกรอบสมรรถนะสมรรถนะของพยาบาลวิชาชีพ ควรมีระบบพี่เลี้ยง การนิเทศงานให้สอดคล้องกับแนวทางพัฒนาบุคลากรของหน่วยงานth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/-
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectทัณฑสถานโรงพยาบาลราชทัณฑ์th_TH
dc.subjectพยาบาลth_TH
dc.subjectความรอบรู้ในที่ทำงานth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--บริหารรัฐกิจth_TH
dc.titleการเสริมสร้างสมรรถนะพยาบาลวิชาชีพในทัณฑสถานโรงพยาบาลราชทัณฑ์th_TH
dc.title.alternativeThe competency enhancement of professional nurses in Medical Correctional Hospitalen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this study were to study (1) competency level of professional nurses in Medical Correctional Hospital (2) opinion level regarding organizational climate and empowerment enhancement factors of professional nurses in Medical Correctional Hospital (3) the relationship between organizational climate and empowerment enhancement factors and the competency of professional nurses in Medical correctional hospital, and (4) problems and recommendations for enhancing the competency of professional nurses in Medical correctional hospital. This study used quantitative research method. The population was 139 registered professional nurses who had been working in Medical Correctional Hospital. The research instrument was a questionnaire. The statistics for data analysis consisted of percentage, mean, standard deviation and Pearson’s correlation coefficient. The results revealed that (1) an overview of the competency of professional nurses was at high level. The highest mean was nursing and midwifery practice. (2) An overview of organizational climate factor was at high level. The highest mean was structure aspect. The empowerment enhancement factor of professional nurses was at high level. The highest mean was the aspect on increasing abilities and skills. (3) Both factors on organizational climate and empowerment enhancement had correlated positively at statistically significance at 0.01 level. (4) Recommendations were there should enhance competency on knowledge, skills, attitudes, and information technology in nursing task, identify competency framework as indicator tool for organization achievement, develop professional assessment according competencies of professional nurses, have mentoring system and supervision in accordance with personnel development guidelines of the hospitalen_US
Appears in Collections:Manage-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
168764.pdfเอกสารฉบับเต็ม13.21 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons