Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/11486
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorพาณี สีตกะลิน, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorสมจิตต์ สุพรรณทัสน์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorทักษิณ ชาวดร, 2519--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2024-02-16T02:19:08Z-
dc.date.available2024-02-16T02:19:08Z-
dc.date.issued2561-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/11486-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ส.ม. (บริหารโรงพยาบาล))-- มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2561th_TH
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้เป็นการศึกษาวิจัยเชิงพรรณนาเพื่อศึกษา (1) ปัจจัยส่วนบุคคลของบุคลากร ปัจจัยโครงสร้าง ปัจจัยกระบวนการบริการของโรงพยาบาลชุมชนที่ผ่านการรับรองคุณภาพ ในจังหวัดอุดรธานี (2) ระดับผลลัพธ์การพัฒนาคุณภาพบริการของโรงพยาบาลชุมชนที่ผ่านการรับรองคุณภาพ ในจังหวัดอุดรธานีและ (3) ปัจจัยที่มีผลต่อการพัฒนาคุณภาพบริการโรงพยาบาล ของโรงพยาบาลชุมชนที่ผ่านการรับรองคุณภาพ ในจังหวัดอุดรธานี ผลการศึกษาวิจัยพบว่า (1) ปัจจัยส่วนบุคคลของบุคลากรส่วนมาก อายุ ระหว่าง 31-50 ปี จำนวน 125 คน เป็นวิชาชีพที่ให้การดูแลรักษาพยาบาล 11 คน มีประสบการณ์ในการทำงานระหว่าง 6-20 ปี จำนวน 81 คน และมีประสบการณ์ในงานพัฒนาคุณภาพ 177 คน ปัจจัยโครงสร้างในภาพ รวมอยู่ในระดับสูง ยกเว้นด้านการสนับสนุนทรัพยากร การฝึกอบรมตามหน้าที่ที่รับผิดชอบ และการมีส่วนร่วมในการประเมินผลจากข้อมูลอยู่ในระดับปานกลาง ปัจจัยกระบวนการในภาพรวม อยู่ในระดับสูง ยกเว้นการวางแผนและฝึกซ้อมอัคคีภัยระดับปานกลาง (2) ระดับผลลัพธ์การพัฒนาคุณภาพบริการของโรงพยาบากชุมชนที่ผ่านการรับรองคุณภาพ ในภาพรวมทุกด้านอยู่ในระดับสูง ยกเว้นด้านประสิทธิภาพของกระบวนการทำงานสำคัญอยู่ในระดับปานกลาง (3) ปัจจัยโครงสร้างด้านกำลังคนมีผลมีและอิทธิพลต่อการพัฒนาคุณภาพบริการมากที่สุด และปัจจัยด้านกระบวนการด้านการบริหารความเสี่ยง สิ่งแวดล้อมในการดูแลผู้ป่วยมีผล มีและอิทธิพลต่อการพัฒนาคุณภาพบริการมากที่สุดth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectบริการลูกค้าth_TH
dc.subjectโรงพยาบาล--การรับรองคุณภาพth_TH
dc.subjectโรงพยาบาล--การควบคุมคุณภาพth_TH
dc.titleปัจจัยที่มีผลต่อการพัฒนาคุณภาพบริการของโรงพยาบาลชุมชนที่ผ่านการรับรองคุณภาพบริการ จังหวัดอุดรธานีth_TH
dc.title.alternativeFactors affecting services quality development in accredited quality services community hospitals, Udon Thani Provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameสาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThis descriptive research aimed to: (1) identify personal factors of staff as well as factors related to organizational structure and service process; (2) determine the levels of service quality improvement outcomes; and (3) determine the levels of factors affecting service quality development, all at community hospitals that had been accredited for good service quality in Udon Thani province. The study was conducted in a sample of 234 staff members selected from all 579 personnel, using the cluster sampling method, working at four accredited community hospitals in the province. Data were collected using a questionnaire covering the topics of personal factors as well as structural and service process factors, and service quality improvement outcomes. Percentages, means, and multiple regression were determined in the analyses of data. The results showed that: (1) of all respondents, 125 (56%) were 31–50 years old, 111 (44.6%) were medical care professionals, 81 (48.2%) had 6–20 years of work experience, and 177 (77.5%) had quality improvement experience. The factors related to overall structure were at a high level, except that those related to resource support, training in job responsibilities, and participation in evaluation (based on existing data) were at a moderate level. The overall factors regarding process participation were at a high level, but moderate for planning and fire drills; (2) the outcomes of service quality improvements of the hospitals were at a high level, but those related to work process efficiencies were at a moderate level; and (3) structural factors related to manpower as well as service process factors concerning risk management and patient-care environment had the highest effect on service quality improvementen_US
Appears in Collections:Health-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
163632.pdfเอกสารฉบับเต็ม11.59 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons