Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/11492
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | พลสราญ สราญรมย์ | th_TH |
dc.contributor.author | ธัญญาภรณ์ บอนแดง, 2523- | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษา | th_TH |
dc.date.accessioned | 2024-02-19T03:31:31Z | - |
dc.date.available | 2024-02-19T03:31:31Z | - |
dc.date.issued | 2562 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/11492 | en_US |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (กษ.ม. (ส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2562 | th_TH |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) สภาพพื้นฐานของผู้ที่เกี่ยวข้องกับการสื่อสารของศูนย์จัดการศัตรูพืชชุมชน 2) สภาพการสื่อสาร 3) ปัญหาและข้อเสนอแนะการสื่อสาร และ 4) แนวทางการพัฒนาการสื่อสารการวิจัยนี้เป็นการวิจัยเชิงสำรวจ ประชากรและกลุ่มตัวอย่างในการศึกษา ดังนี้ 1) การศึกษาสภาพพื้นฐาน สภาพการสื่อสาร ปัญหาและข้อเสนอแนะการสื่อสาร แบ่งเป็น 2 กลุ่ม คือ (1) กลุ่มเจ้าหน้าที่ส่งเสริมการเกษตรระดับอำเภอและจังหวัด จำนวน 44 ราย ขนาดกลุ่มตัวอย่าง 8 ราย โดยสุ่มแบบเจาะจง (2) กลุ่มที่ไม่ใช่เจ้าหน้าที่ ประกอบด้วย (2.1) คณะกรรมการ จำนวน 46 ราย ขนาดกลุ่มตัวอย่าง 7 ราย โดยสุ่มแบบเจาะจง (2.2) สมาชิก จำนวน 249 ราย ขนาดกลุ่มตัวอย่าง 113 ราย โดยคำนวณจากสูตรของยามาเน่ ที่ระดับสำคัญ 0.07 โดยใช้วิธีสุ่มแบบง่าย (2.3) เกษตรกรที่อาศัยอยู่ในพื้นที่ตั้งศูนย์ จำนวน 272 ราย ขนาดกลุ่มตัวอย่าง 117 ราย โดยคำนวณจากสูตรของ ทาโร่ ยามาเน่ ที่ระดับสำคัญ 0.07 โดยใช้วิธีสุ่มแบบง่าย (24) เครือข่ายศจช.ระดับจังหวัด จำนวน 1 ราย ศึกษาจากประชากรทั้งหมด เก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสัมภาษณ์ 2) การศึกษาแนวทางการพัฒนาการสื่อสาร ใช้ประชากรและกลุ่มตัวอย่างเดียวกับกลุ่มเจ้าหน้าที่ เก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสนทนากลุ่มวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนา ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ค่าสูงสุด ค่าต่ำสุด ค่าความถี่ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าร้อยละ และการวิเคราะห์เชิงเนื้อหา ผลการวิจัยพบว่า 1) กลุ่มที่ไม่ใช่เจ้าหน้าที่ส่วนใหญ่เข้าร่วมศูนย์จัดการศัตรูพืชชุมชนจากการชวนของเจ้าหน้าที่ ส่วนกลุ่มเจ้าหน้าที่ส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง ทุกกลุ่มใช้สมาร์ทโฟนและโทรศัพท์บ้าน/มือถือมากกว่าร้อยละ 50 และใช้แอปพลิเคชั่นไลน์และเฟซบุ๊กมากกว่าร้อยละ 40 2) ทุกกลุ่มมีคุณสมบัติการสื่อสารระดับมากและมากที่สุด ยกเว้นเกษตรกรอยู่ในระดับปานกลาง โดยทุกกลุ่มพูดคุยประเด็นโรคพืชและแมลงศัตรูพืชมากที่สุด ด้านสื่อ/ช่องทาง ทุกกลุ่มรับรู้ข้อมูลผ่านเจ้าหน้าที่ การประชุมกลุ่มศจช. และสิ่งพิมพ์อิเล็กทรอนิกส์มากที่สุด แต่รับรู้ผ่านเครือข่ายและการศึกษาดูงานน้อยที่สุด 3) ปัญหาและข้อเสนอแนะ พบว่า ขาดความรู้ ชำนาญด้านอารักขาพืชและทักษะการถ่ายทอดความรู้ และช่องทางยังไม่เหมาะกับกลุ่มเป้าหมาย 4) แนวทางการพัฒนา ได้แก่ การพัฒนาศูนย์จัดการศัตรูพืชชุมชนให้มีวิทยากรเกษตรกร และจัดทำแผนการดำเนินงาน/หลักสูตรอบรมแก่ศูนย์จัดการศัตรูพืชชุมชน | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | ศูนย์จัดการศัตรูพืชชุมชน--ไทย--ตราด | th_TH |
dc.title | แนวทางการพัฒนาการสื่อสารของศูนย์จัดการศัตรูพืชชุมชนในจังหวัดตราด | th_TH |
dc.title.alternative | Guidelines for communication development of community pest management centers in Trat Province | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | เกษตรศาสตรมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The objectives of this research were to study the community pest management centers on (1) basic conditions of related parties, (2) communication conditions, (3) problems and suggestions regarding communication, and (4) guidelines for communication development. This research was a survey research. The population and sample group in this study were: 1) for the study of basic conditions, communication conditions, problems and suggestions about communication, the population were divided into 2 groups: (1) 44 districts and provincial agricultural extension officer group with the sample size of 8 people selected by purposive sampling and (2) the non-officer group which consisted of (2.1) 46 committee members with the sample size of 7 people selected by purposive sampling method, (2.2) 249 members with the sample size of 113 people calculated from Taro Yamane formula at the significant level of 0.07 by simple random sampling method, (2.3) 272 farmers resided at the centers area with the sample size of 117 people calculated by Taro Yamane formula at the significant level of 0.07 and by simple random sampling method, (2.4) 11 people in the network at provincial level. The entire population was used. Data was collected through interview. 2) The same groups of officer was used in the study of guidelines for communication development by group discussion method. Statistics included mean, maximum value, minimum value, frequency, standard deviation, percentage, and content analysis. The results of the research revealed that (1) most of the non-officers participated in the pest control centers through the officers’ invitation. Most officers in the group were female. More than 50% of every related party in every group used smartphones and home phone/mobile phones. More than 40% of them used Line and Facebook. (2) The communication attributes of related parties in every group was at high and the highest level except the farmers’ was at the moderate level. Related parties discussed the aspects of disease and pest at the highest level. They accessed the information through officers, community pest management center group meeting, and electronics at the highest level but got access through the network and field trips at the lowest level. (3) Lack of knowledge and expertise in preserving plants and skills in knowledge transfer were problems encountered. Transfer channels of knowledge did not match the target groups. (4) To recruit agricultural trainers, and develop plans for operation and training courses for the community pest control center were suggested. | en_US |
dc.contributor.coadvisor | สินีนุช ครุฑเมือง แสนเสริม | th_TH |
Appears in Collections: | Agri-Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
162186.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 23.07 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License