Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/11541
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorกุลธิดา บรรจงศิริth_TH
dc.contributor.authorมัตติกา ชะนะทะเล, 2529--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2024-02-20T04:17:23Z-
dc.date.available2024-02-20T04:17:23Z-
dc.date.issued2564-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/11541-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม.(การจัดการสิ่งแวดล้อมอุตสาหกรรม))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2564th_TH
dc.description.abstractการวิจัยเชิงสำรวจครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) ความรู้เกี่ยวกับการจัดการขยะมูลฝอยโดยใช้หลัก 7R ของพนักงานร้านสะดวกซื้อมินิบิ๊กซี (2) ทัศนคติเกี่ยวกับการจัดการขยะมูลฝอยโดยใช้หลัก 7R ของพนักงานร้านสะดวกซื้อมินิบิ๊กซี (3) พฤติกรรมเกี่ยวกับการจัดการขยะมูลฝอยโดยใช้หลัก 7R ของพนักงานร้านสะดวกซื้อมินิบิ๊กซี และ (4) เปรียบเทียบความแตกต่างระหว่างข้อมูลทั่วไปกับความรู้ ทัศนคติและพฤติกรรมเกี่ยวกับการจัดการขยะมูลฝอยโดยใช้หลัก 7R ของพนักงานร้านสะดวกซื้อมินิบิ๊กซี ประชากรเป็นพนักงานร้านสะดวกซื้อมินิบิ๊กซี เขต 11 จำนวน 25 สาขา ในอำเภอศรีราชา จังหวัดชลบุรี เก็บข้อมูลจากประชากรจำนวน 191 คน โดยใช้แบบสอบถามอิเล็กทรอนิกส์จำแนกเป็น 4 ส่วน จำนวน 51 ข้อ โดยตรวจสอบความเที่ยงตรงเชิงเนื้อหาและประเมินค่าดัชนีความสอดคล้องได้ค่าสัมประสิทธิ์แอลฟา เท่ากับ 0.81 การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงพรรณนา วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติการทดสอบทีและการวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว ผลการศึกษาพบว่า ประชากรส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง กลุ่มอายุ 19-25 ปี ระดับการศึกษาอยู่ที่ระดับอนุปริญญา เป็นตำแหน่งพนักงาน รายได้ต่อเดือนอยู่ที่ 10,001 – 15,000 บาท อายุการทำงานในร้านสะดวกซื้อมินิบิ๊กซี อยู่ที่ 1-5 ปี ผลการศึกษารายด้านพบว่า (1) ด้านความรู้เกี่ยวกับการจัดการขยะมูลฝอยโดยใช้หลัก 7R อยู่ ในเกณฑ์ระดับดี (2) ด้านทัศนคติเกี่ยวกับการจัดการขยะมูลฝอยโดยใช้หลัก 7R อยู่ในเกณฑ์ระดับปานกลาง (3) ด้านพฤติกรรมเกี่ยวกับการจัดการขยะมูลฝอยโดยใช้หลัก 7R อยู่ในเกณฑ์ระดับดี และ (4) ความแตกต่างระหว่างข้อมูลทั่วไปกับด้านความรู้ ทัศนคติและพฤติกรรมเกี่ยวกับการจัดการขยะมูลฝอยโดยใช้หลัก 7R ของพนักงานร้านสะดวกซื้อมินิบิ๊กซี พบว่า ด้านทัศนคติและพฤติกรรมของพนักงานร้านสะดวกซื้อมินิบิ๊กซีในการจัดการขยะมูลฝอยโดยใช้หลัก 7R เมื่อเปรียบเทียบ ระดับการศึกษา รายได้ต่อเดือนและอายุการทำงานในร้านสะดวกซื้อมินิบิ๊กซี แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ 0.05 ส่วน เพศ อายุ และตำแหน่งที่ได้รับมอบหมาย ไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ 0.05 ส่วนด้านความรู้ เมื่อเปรียบเทียบกับข้อมูลทั่วไปทุกด้าน พบว่า ไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ 0.05th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกการจัดการสิ่งแวดล้อมอุตสาหกรรม--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectขยะ--การจัดการ--ไทย--ชลบุรีth_TH
dc.titleความรู้ ทัศนคติและพฤติกรรมเกี่ยวกับการจัดการขยะมูลฝอยโดยใช้หลัก 7R ของพนักงาน : กรณีศึกษาร้านสะดวกซื้อมินิบิ๊กซี เขต 11 อำเภอศรีราชา จังหวัดชลบุรีth_TH
dc.title.alternativeKnowledge, attitudes and behaviors of employees regarding solid waste management by using the 7R’s: a case study of Mini Big C convenience stores in Zone 11, Si Racha district, Chon Buri Provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (การจัดการสิ่งแวดล้อมอุตสาหกรรม)th_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe goals of this survey research are 1) to investigate knowledge of convenience store employees regarding solid waste management based on the 7R’s principle, 2) to investigate attitude of convenience store employees toward solid waste management based on the 7R’s principle, 3) to investigate behavior of convenience store employees toward solid waste management based on the 7R’s principle and 4) to compare how employees’ knowledge, attitude, and behavior regarding solid waste management differ from general information based on the 7R's principle. The study involved 191 employees of 25 Mini Big C convenience stores in Zone 11 of Si Racha district, Chon Buri province. Data were collected using a four-part online questionnaire with a total of 51 questions, whose content validity was evaluated using the index of item-objective congruence, and its Cronbach's alpha coefficient was 0.81. Descriptive data analysis was conducted, and the data were analyzed using t-test and one-way ANOVA. The results indicated that, among all respondents, most of them were women aged 19–25 years, graduated at the diploma level, worked as employees with a monthly salary of 10,001–15,000 baht, and had 1–5 years of work experience. Based on the 7R’s of solid waste management of the respondents, (1) their mean knowledge was at a good level; (2) their mean attitude was at a moderate level; (3) their mean behavior was at a good level; and (4) at a p-value of 0.05, concerning the 7R’s for solid waste management, the education level, monthly salary, and work experience significantly affected their attitudes and behaviors; but sex, age and job position had no significant effect on their attitudes and behaviors; while their knowledge levels were not significantly associated with any of all aspects of the general informationen_US
dc.contributor.coadvisorปธานิน แสงอรุณth_TH
Appears in Collections:Health-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
FULLTEXT.pdfเอกสารฉบับเต็ม12.44 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons