Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/11567
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorนิตยา เพ็ญศิรินภาth_TH
dc.contributor.authorวารินทร์ แผนเจริญ, 2517--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2024-02-22T07:46:38Z-
dc.date.available2024-02-22T07:46:38Z-
dc.date.issued2549-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/11567-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ส.ม. (สาธารณสุขศาสตร์))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2549th_TH
dc.description.abstractการวิจัยเชิงพรรณนานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาปัจจัยด้านทรัพยากร ด้านกระบวนการบริหาร และด้านการมีส่วนร่วมของสมาชิกชมรมผู้สูงอายุในการดำเนินกิจกรรมของชมรมผู้สูงอายุจังหวัดเพชรบุรี (2) ศึกษาการดำเนินกิจกรรมของชมรมผู้สูงอายุ (3) ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยด้านทรัพยากร ด้านกระบวนการบริหาร และด้านการมีส่วนร่วมของสมาชิกชมรมผู้สูงอายุ กับการดำเนินกิจกรรมของชมรม และ (4) ศึกษาปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะต่อการดำเนินกิจกรรมของชมรมผู้สูงอายุ ผลการศึกษา พบว่า (1) ปัจจัยด้านทรัพยากร ปัจจัยด้านกระบวนการบริหาร และปัจจัยด้านการมีส่วนร่วมของสมาชิกชมรมผู้สูงอายุในการดำเนินกิจกรรมของชมรมผู้สูงอายุ ทั้ง 3 ด้านอยู่ในระดับปานกลาง (2) การดำเนินกิจกรรมของชมรมผู้สูงอายุโดยรวมอยู่ในระดับปานกลาง เมื่อพิจารณาตามประเภทของกิจกรรม พบว่ากิจกรรมมาตรฐานปกติอยู่ในระดับปานกลาง กิจกรรมก้าวหน้าเชิงพัฒนาอยู่ในระดับต่ำ (3) ปัจจัยด้านทรัพยากร ปัจจัยด้านกระบวนการบริหาร และปัจจัยด้านการมีส่วนร่วมของสมาชิกชมรมผู้สูงอายุมีความสัมพันธ์ทางบวกกับการดำเนินกิจกรรมของชมรมผู้สูงอายุ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.001 (4) ปัญหา อุปสรรค ที่ผู้บริหารชมรมผู้สูงอายุเสนอ ได้แก่ผู้สูงอายุมาร่วมกิจกรรมน้อย เพราะมีปัญหาด้านระยะทาง งานที่ทำ อายุมาก ขาดการสนับสนุนวัสดุอุปกรณ์อย่างต่อเนื่องงบประมาณไม่เพียงพอ ข้อเสนอแนะของผู้บริหารชมรม คือ หน่วยงานต่าง ๆ ควรเข้ามาดูแลและสนับสนุนงบประมาณอย่างต่อเนื่อง ข้อเสนอแนะจากการวิจัย คือ ควรสนับสนุนให้สมาชิกที่มีอายุน้อยเข้ามาเป็นกรรมการชมรมผู้สูงอายุ มีการพัฒนาศักยภาพของกรรมการ การจูงใจให้สมาชิกมีส่วนร่วมในกิจกรรม การส่งเสริมกิจกรรมการออกกำลังกายที่สอดคล้องกับวิถีชีวิต และหน่วยงานต่างๆ ควรสนับสนุนงบประมาณและวัสดุอุปกรณ์แก่ชมรมผู้สูงอายุอย่างต่อเนื่องth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/ 10.14457/STOU.the.2006.224-
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectชมรมผู้สูงอายุจังหวัดเพชรบุรี--การบริหารth_TH
dc.subjectผู้สูงอายุ--ไทย--เพชรบุรีth_TH
dc.subjectผู้สูงอายุ--การวมกลุ่มth_TH
dc.titleปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับการดำเนินกิจกรรมของชมรมผู้สูงอายุจังหวัดเพชรบุรีth_TH
dc.title.alternativeFactors related to activities implementation of elderly clubs Phetchaburi Provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.identifier.DOI10.14457/STOU.the.2006.224-
dc.degree.nameสาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.contributor.coadvisorสุรเคช ประดิษฐบาทุกาth_TH
Appears in Collections:Health-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
96483.pdfเอกสารฉบับเต็ม6.69 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons