Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/11597
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | เอกพล หนุ่ยศรี | th_TH |
dc.contributor.author | สถิตย์ ลิ่มพงศ์พันธุ์, 2493- | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษา | th_TH |
dc.date.accessioned | 2024-02-23T08:03:34Z | - |
dc.date.available | 2024-02-23T08:03:34Z | - |
dc.date.issued | 2545 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/11597 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (ศ.ม. (เศรษฐศาสตร์))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2545 | th_TH |
dc.description.abstract | การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์ความสอดคล้องของปัจจัยทางเศรษฐกิจในการก้าวสู่สกุลเงินร่วมกันของอาเซียน ผลการวิจัยพบว่า (1) ตัวแปรทางเศรษฐกิจมหภาคส่วนใหญ่ มีความสอดคล้องกันในเรื่องขนาดความผันผวน ขนาดความผันผวนเปรียบเทียบ ความสัมพันธ์กับผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศที่แท้จริง และความสัมพันธ์ของแต่ละตัวแปรระหว่างประเทศ ยิ่งไปกว่านั้น ความผันผวนและความสัมพันธ์ในช่วงแรกมีความสอดคล้องกันมากกว่าในช่วงหลัง (2) ตัวแปรทางนโยบายการคลังส่วนใหญ่ มีความสอดคล้องกันในเรื่องขนาดความผันผวน ขนาดความผันผวนเปรียบเทียบและความสัมพันธ์กับผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศที่แท้จริง ยกเว้นเรื่องความสัมพันธ์ของแต่ละตัวแปรระหว่างประเทศ ยิ่งไปกว่านั้น ความผันผวนและความสัมพันธ์ในช่วงแรกมีความสอดคล้องกันมากกว่าในช่วงหลัง (3) ตัวแปรทางนโยบายการเงินส่วนใหญ่มีความสอดคล้องกันในเรื่องขนาดความผันผวนเปรียบเทียบ ความสัมพันธ์กับผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศที่แท้จริงและความสัมพันธ์ของแต่ละตัวแปรระหว่างประเทศ ยกเว้นเรื่องขนาดความผันผวน ยิ่งไปกว่านั้นความผันผวนและความสัมพันธ์ในช่วงแรกมีความสอดคล้องกันมากกว่าในช่วงหลัง | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | th_TH |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | ความร่วมมือทางเศรษฐกิจ--อาเซียน | th_TH |
dc.title | ความสอดคล้องของปัจจัยทางเศรษฐกิจในการก้าวสู่สกุลเงินร่วมกันของอาเซียน | en_US |
dc.title.alternative | Conformity of econmic factors towards the common currency in ASEAN | en_US |
dc.type | Thesis | th_TH |
dc.degree.name | เศรษฐศาสตรมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The objective of this study was to analyze the conformity of economic factors toward the common currency in ASEAN. The study covered the original five member countries in ASEAN, namely Indonesia, Malaysia, Philippines, Singapore and Thailand. Time series data of the International Financial Statistic (IFS) CD-ROM from International Monetary Fund (IMF) and the central banks of respective countries during 1970 to 2001 were used in the study. Statistical instruments were standard deviation and correlation coefficient, computed by E-view program. The research findings showed that (1) volatility, relative volatility, co-movement and cross country correlation of the majority of macroeconomic variables were conformed. Moreover, the conformity of volatility and correlation in the second period was higher than the first period. (2) volatility, relative volatility, and co-movement of the majority of fiscal policy variables were conformed, except cross country correlation. Moreover, the conformity of volatility and correlation in the second period was higher than the first period. (3) relative volatility, co-movement and cross country correlation of the majority of monetary policy variables were conformed, except volatility. Moreover, the conformity of volatility and correlation in the second period was higher than the first period. | en_US |
Appears in Collections: | Econ-Theses |
This item is licensed under a Creative Commons License