Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/11607
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorนารีรัตน์ สีระสารth_TH
dc.contributor.authorรวิสรา นาคีรักษ์, 2535-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2024-02-27T03:47:58Z-
dc.date.available2024-02-27T03:47:58Z-
dc.date.issued2563-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/11607en_US
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (กษ.ม. (ส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2563th_TH
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) สภาพทางสังคม และเศรษฐกิจ 2) ความรู้ในการจัดการตอซังข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ 3) การจัดการตอซังข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ 4) ปัญหา และข้อเสนอแนะเกี่ยวกับการจัดการตอซังข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ 5) แนวทางการส่งเสริมการจัดการตอซังข้าวโพดเลี้ยงสัตว์หลังเก็บเกี่ยว ผลการวิจัย พบว่า (1) เกษตรกรส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง อายุเฉลี่ย 54.20 ปี จบการศึกษาระดับประถมศึกษา มีประสบการณ์ทำไร่ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์เฉลี่ย 23.39 ปี แรงงานที่ใช้ในการทำการเกษตรเฉลี่ย 2.23 คนพื้นที่ทำไร่ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์เฉลี่ย 20.60 ไร่ รายได้เฉลี่ยในการปลูกข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ 112,282.31 บาท/ปีต้นทุนในการจัดการตอซังข้าวโพด เฉลี่ย 5,489.20 บาท/ปี (2) เกษตรกรมีความรู้เกี่ยวกับการจัดการตอซังข้าวโพดเลี้ยงสัตว์หลังการเก็บเกี่ยว อยู่ในระดับมาก (3) การจัดการตอซังข้าวโพดเลี้ยงสัตว์หลังการเก็บเกี่ยว เกษตรกรมีการปฏิบัติประจำ คือ ปลูกพืชตระกูลถั่ว ปอเทือง ปุ๋ยพืชสดหรือพืชหมุนเวียน ร่วมกับการไถกลบตอซังข้าวโพดเลี้ยงสัตว์หลังการเก็บเกี่ยว และไม่ปฏิบัติ คือ ขายแหล่งรับซื้อ เพื่อเป็นวัสดุในการทำเชื้อเพลิง (4) ระดับปัญหาในการจัดการตอซังข้าวโพดเลี้ยงสัตว์หลังการเก็บเกี่ยว ด้านการส่งเสริมจากภาครัฐระดับปานกลาง ข้อเสนอแนะภาครัฐควรสนับสนุนงบประมาณค่าต้นทุนการจัดการตอซัง ค่าไถกลบ (5) แนวทางการส่งเสริมด้านประเด็นการส่งเสริม คือ ส่งเสริมสร้างจิตสำนึกให้เกษตรกร งด หรือเลิกการเผาตอซังข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ และด้านวิธีการส่งเสริม คือ จัดทำความรู้และรณรงค์การจัดการตอซังข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ ผ่านอินเตอร์เน็ต และแอพลิเคชั่นเช่น ไลน์ และเฟสบุ๊ค เป็นต้นth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectซังข้าวโพดth_TH
dc.subjectซังข้าวโพด--การจัดการth_TH
dc.titleการส่งเสริมการจัดการตอซังข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ของเกษตรกรในตำบลพุแค อำเภอเฉลิมพระเกียรติ จังหวัดสระบุรีth_TH
dc.title.alternativeExtension management of maize stubble by farmers in Phu Khae sub-district,Chaloem Phra Kiet District, Saraburi Provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameเกษตรศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research were to study (1) social and economic conditions, (2) knowledge of maize stubble management (3) maize stubble management (4) problems and recommendations on the management of maize stubble (5) extension guidelines of post-harvest maize stubble management. The population consisted of 395 maize farmers in Phu Khae Sub-district, Chaloem Phra Kiat District Saraburi who registered with the Department of Agricultural Extension in the production year of 2019/2020. The 199 sample size was based on Taro Yamane formula with the error value of 0.05. Structured interviews were used for data collection. Statistics used were frequency, percentage, mean, minimum, maximum, standard deviation and ranking. The results indicated the following: (1) Most of the farmers were female with average of age 54.20 years and finished from primary school. The average experience in maize farming 23.39 years. The average farming labor 2.23. The average maize farming area is 20.60 rai. The average income in maize cultivation 112,282.31 baht/year. The average of cost maize stubble 5,489.20 baht/year. (2) Farmers were knowledgeable about post-harvest maize stubble management at a high level. (3) management of maize stubble after harvest were 3 routines include growing legumes,jute, green manure or crop rotation with the plowing of maize stubble after harvest, also plow the maize stubble before the next maize growing season. (4) farmers were problems of management maize stubble after harvest. Extension from the government would be support the budget for stubble management costs of tillage. (5) Farmers wanted to receive the extension guidelines on the aspect of extension and extension method at the highest level.en_US
dc.contributor.coadvisorธำรงเจต พัฒมุขth_TH
Appears in Collections:Agri-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
FULLTEXT.pdfเอกสารฉบับเต็ม13.12 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons