Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/11656
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorมนูญ โต๊ะยามา, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorรัชฎาพร เลิศโภคานนท์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorกิติพงค์ พร้อมวงค์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorภัณฑ์ชัย ปึงหลั่งสิน, 2501--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2024-02-29T07:53:50Z-
dc.date.available2024-02-29T07:53:50Z-
dc.date.issued2550-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/11656-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ศ.ม. (เศรษฐศาสตร์))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2550th_TH
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อวิเคราะห์ 1) สภาพทั่วไปของการซ่อมบำรุงอากาศยาน 2) รูปแบบและช่องทางการถ่ายทอดเทคโนโลยี 3) ปัจจัยที่ส่งผลต่อการถ่ายทอดเทคโนโลยี 4) ปัญหาอุปสรรคที่มีผลต่อการถ่ายทอดเทคโนโลยี 5) ขีดความสามารถในการรับการถ่ายทอดเทคโนโลยีในการซ่อมบำรุงอากาศยานของฝ่ายช่างบริษัท การบินไทย จำกัด มหาชน ผลการศึกษาพบว่า สภาพทั่วไปของการซ่อมบำรุงอากาศยานคือเทคโนโลยีด้านอากาศยานมีการเปลี่ยนแปลงอย่างต่อเนื่อง ดังนั้นเพื่อให้การซ่อมบำรุงอากาศยานมีคุณภาพและมีประสิทธิภาพ ผู้ปฏิบัติงานจึงควรได้รับการถ่ายทอดเทคโนโลยีเพื่อให้ทันต่อการเปลี่ยนแปลง ค่าเฉลี่ยระหว่างร้อยละ 30 - 35 รูปแบบของการถ่ายทอดเทคโนโลยีที่มีประสิทธิผลคือ รูปแบบของการซื้ออากาศยานและอุปกรณ์อากาศยานจากผู้ผลิตโดยมีสัญญาให้ความช่วยเหลือทางเทคนิค ค่าเฉลี่ยระหว่าง 3.15 -3.95 และ ช่องทางของการถ่ายทอดเทคโนโลยีที่มีประสิทธิผลคือ การอบรม ประชุม สัมมนา ค่าเฉลี่ยระหว่าง 3.05 - 3.75 ปัจจัยที่สำคัญที่ทำให้การถ่ายทอดเทคโนโลยีการซ่อมบำรุงอากาศยานประสบผลสำเร็จ คือ การให้ความช่วยเหลือและร่วมมือในการถ่ายทอดเทคโนโลยีของผู้ปฏิบัติงาน ค่าเฉลี่ยระหว่าง ร้อยละ 45 - 50 ปัญหาอุปสรรคที่สำคัญของการถ่ายทอดเทคโนโลยีการซ่อมบำรุงอากาศยาน คือ การที่เทคโนโลยีมีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว ค่าเฉลี่ยระหว่างร้อยละ 40 – 50 ขีดความสามารถในการรับการถ่ายทอดเทคโนโลยี คือ การที่ผู้ปฏิบัติงานมีความสามารถสูงในการรับจากการถ่ายทอดเทคโนโลยีและสามารถนำความรู้ และทักษะที่ได้รับมาไปปฏิบัติงานได้ทันที หลังจากได้รับการถ่ายทอดเทคโนโลยีค่าเฉลี่ยระหว่างร้อยละ 30 - 50th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectบริษัทการบินไทยth_TH
dc.subjectการถ่ายทอดเทคโนโลยีth_TH
dc.titleการวิเคราะห์การถ่ายทอดเทคโนโลยีเพื่อสร้างขีดความสามารถทางเทคนิค : กรณีศึกษาบริษัทการบินไทย จำกัด มหาชนth_TH
dc.title.alternativeAn analysis of technology transfer for the technical capability building : a case study of Thai Airways International Public Company Limiteden_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameเศรษฐศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาเศรษฐศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
Appears in Collections:Econ-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
105627.pdfเอกสารฉบับเต็ม10.85 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons