Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/11659
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสุภาสินี ตันติศรีสุข, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorนิตยา รัตนโสม, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorศุภมิตร อินทขันตี, 2515--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2024-03-01T01:47:31Z-
dc.date.available2024-03-01T01:47:31Z-
dc.date.issued2550-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/11659-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ศ.ม. (เศรษฐศาสตร์))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2550th_TH
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาศักยภาพการผลิตและการส่งออกของอุตสาหกรรมยางยานยนต์ของประเทศไทย 2) เพื่อศึกษาศักยภาพการแข่งขันของอุตสาหกรรมยางยานยนต์ของประเทศไทย 3) เพื่อศึกษาถึงความสามารถในการแข่งขันของอุตสาหกรรมยางยานยนต์ของไทยกับประเทศคู่แข่งขันในตลาดโลกและในตลาดประเทศคู่ค้าที่สำคัญ 4) เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงมูลค่าการส่งออกอุตสาหกรรมยางยานยนต์ของประเทศไทย และ 5) เพื่อศึกษาถึงปัญหาและอุปสรรคของอุตสาหกรรมยางยานยนต์ของประเทศไทย ผลการศึกษาพบว่า ประเทศไทยมีศักยภาพในด้านการผลิตและการส่งออกยางยานยนต์ โดยในปี พ.ศ.2549 สามารถผลิตยางรถยนต์นั่งได้ 12.93 ล้านเส้น และส่งออก 3.33 ล้านเส้น คิดเป็นร้อยละ 25.75 ของการผลิต ผลิตยางรถบรรทุกและโดยสารได้ 4.07 ล้านเส้น และส่งออก 1.04 ล้านเส้น คิดเป็นร้อยละ 25.56 ของการผลิต และผลิตยางรถจักรยานยนต์ได้ 21.63 ล้านเส้น ส่งออกประมาณ 6.60 ล้านเส้น คิดเป็นร้อยละ 30.50 ของการผลิต อุตสาหกรรมยางยานยนต์ของไทยมีศักยภาพการแข่งขันในด้านปัจจัยการผลิต ด้านอุปสงค์ต่อธุรกิจอุตสาหกรรมสนับสนุนและเกี่ยวเนื่อง และนโยบายรัฐบาลที่เข้มแข็ง ประเทศไทยมีความได้เปรียบโดยเปรียบเทียบในการส่งออกยางยานยนต์ทุกผลิตภัณฑ์ไปยังทุกตลาดที่พิจารณา ยกเว้น สหรัฐอเมริกา ซึ่งพบว่าไทยไม่มีความได้เปรียบโดยเปรียบเทียบในการส่งออกยางรถยนต์นั่ง เพราะว่าค่า RCA น้อยกว่า 1 แต่ค่า RCA มีแนวโน้มสูงขึ้น ส่วนปัจจัยที่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงมูลค่าการส่งออกในตลาดโลก พบว่าเป็นผลจากความสามารถในการแข่งขัน ผลจากการขยายตัวของตลาดโลกโดยเฉลี่ย และผลจากส่วนประกอบของสินค้าและตลาดส่งออกสำคัญพบว่าเป็นผลจากความสามารถในการแข่งขัน และผลจากการขยายตัวของตลาดโลกโดยเฉลี่ย สำหรับปัญหาของอุตสาหกรรมยางยานยนต์คือ ต้นทุนการผลิตสูง อุปสรรคคือ การกีดกันทางการค้าของต่างประเทศโดยมาตรฐานสากลth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectอุตสาหกรรมยางรถth_TH
dc.subjectการแข่งขันทางการค้าth_TH
dc.titleการวิเคราะห์ความสามารถในการแข่งขันของอุตสาหกรรมยางยานยนต์ในประเทศไทยth_TH
dc.title.alternativeAn analysis of capability on competitiveness of the pneumatic tire industry in Thailanden_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameเศรษฐศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาเศรษฐศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
Appears in Collections:Econ-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
108755.pdfเอกสารฉบับเต็ม9.8 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons