Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/11670
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | พัทยา แก้วสาร, อาจารย์ที่ปรึกษา | th_TH |
dc.contributor.advisor | ศรีนวล สถิตวิทยานันท์, อาจารย์ที่ปรึกษา | th_TH |
dc.contributor.author | ศุภลักษณ์ ชูวงศ์, 2508- | - |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษา | th_TH |
dc.date.accessioned | 2024-03-01T07:37:18Z | - |
dc.date.available | 2024-03-01T07:37:18Z | - |
dc.date.issued | 2563 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/11670 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (พย.ม.(การบริหารการพยาบาล))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2563 | th_TH |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยและพัฒนามีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) พัฒนารูปแบบการคัดกรองและส่งต่อเข้าช่องทางด่วนสำหรับผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง สถาบันโรคทรวงอก และ 2) ศึกษาประสิทธิผลของรูปแบบการคัดกรองและส่งต่อเข้าช่องทางด่วนสำหรับผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง สถาบันโรคทรวงอก กลุ่มตัวอย่างที่ศึกษา คือ พยาบาลวิชาชีพที่มีประสบการณ์การทำงาน 1 ปีขึ้นไป หอผู้ป่วยหนักอายุรกรรมหัวใจ สถาบันโรคทรวงอก คัดเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบเจาะจง จำนวน 26 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ รูปแบบการคัดกรองและส่งต่อเข้าช่องทางด่วนสำหรับผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองและแบบประเมินประสิทธิผลของการนำรูปแบบมาใช้ โดยผ่านการตรวจสอบความตรงตามเนื้อหาได้ค่า IOC เท่ากับ 0.93 ความเที่ยงของเครื่องมือใช้สูตรสัมประสิทธิ์แอลฟาครอนบาคเท่ากับ 0.91 วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติพรรณนาและสถิติทดสอบmu ชนิดเปรียบเทียบสองกลุ่มที่เป็นไม่อิสระต่อกัน ผลการวิจัยมี 2 ประเด็น 1) รูปแบบการคัดกรองและส่งต่อเข้าช่องทางด่วนสำหรับผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองที่พัฒนาขึ้น ประกอบ 3 ส่วน ดังนี้ (1) แนวทางการพยาบาลผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองสำหรับพยาบาลทั่วไป (2) การจัดบริการระบบช่องทางด่วนสำหรับผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองขาดเลือดเฉียบพลัน และ (3) แบบคัดกรองผู้ป่วยจากอาการและอาการแสดง และ 2) ประสิทธิผลของการใช้รูปแบบการคัดกรองและส่งต่อที่พัฒนาขึ้น มี 3 ประเด็น ดังนี้ (1) พยาบาลมีความรู้ความสามารถในการคัดกรองและส่งต่อเข้าช่องทางด่วน สูงขึ้นอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 (2) ผู้ป่วยได้รับการส่งต่อเพื่อการรักษาที่ถูกต้องและทันเวลาตามแผนการรักษา และ (3) พยาบาลแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับความเหมาะสมของรูปแบบการคัดกรองและส่งต่อเข้าช่องทางด่วนสําหรับผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองอยู่ในระดับดีมาก | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | โรคหลอดเลือดสมอง--การตรวจคัดโรค | th_TH |
dc.title | การพัฒนารูปแบบการคัดกรองและส่งต่อเข้าช่องทางด่วนสำหรับผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง สถาบันโรคทรวงอก | th_TH |
dc.title.alternative | The development of stroke fast track screening and referral model for patients at Central Chest Institute of Thailand | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | พยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาพยาบาลศาสตร์ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | This research and development study is aimed to 1) develop a Stroke Fast Track Screening and Referral Model and 2) study the effectiveness of those model for patients who have cerebrovascular disease at Central Chest Institute of Thailand. The purposive sample group in this study included with 26 professional nurses experiencing of at least 1-year work in Cardiac Care unit. The 2 research tools are: (1) the Stroke Fast Track Screening and Referral Model and (2) the efficiency assessment of those developed model using. Its content validation was come up with IOC of 0.93. The reliability of the instrument was determined of the Cronbach's alpha coefficient and formula equal to 0.91. Data were analyzed by using descriptive statistics and Pair t-test. There were two interested findings. Firstly, the Stroke Fast Track Screening and Referral Model consists of 3 parts: (1) stroke nursing guidelines, (2) fast-track services for acute ischemic stroke patients, and (3) signs and symptoms assessment. Another was the effectiveness of model using reflexed into 3 parts. Once, the knowledge and capability among nurses for screening and referring to the fast track are statistically and significantly higher at the 0.05 level. Secondly, it was found that cerebrovascular patients were referred in accurately and timely for all treatment procedure, and lastly, nurses showed their abilities to comply this model appropriately on a very good level | en_US |
Appears in Collections: | Nurse-Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
167554.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 14.84 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License