Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/11720
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorเฉลิมศักดิ์ ตุ้มหิรัญ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorจินดา ขลิบทอง, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorสืบศักดิ์ บุญสืบ, 2528--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2024-03-11T07:47:02Z-
dc.date.available2024-03-11T07:47:02Z-
dc.date.issued2562-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/11720-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (กษ.ม.(ส่งเสริมการเกษตร))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2562th_TH
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษา (1) สภาพเศรษฐกิจและสังคมของเกษตรกรผู้ปลูกมันสำปะหลังในอำเภอลานสัก จังหวัดอุทัยธานี (2) สภาพการผลิตมันสำปะหลังของเกษตรกรผู้ปลูกมันสำปะหลังในอำเภอลานสัก จังหวัดอุทัยธานี (3) การปฏิบัติตามระบบการผลิตทางการเกษตรที่ถูกต้องและเหมาะสม (GAP) ในการผลิตมันสำปะหลังของเกษตรกรผู้ปลูกมันสำปะหลังในอำเภอลานสัก จังหวัดอุทัยธานี (4) ปัญหาและข้อเสนอแนะในการผลิตมันสำปะหลังของเกษตรกรผู้ปลูกมันสำปะหลังในอำเภอลานสัก จังหวัดอุทัยธานี และ (5) แนวทางการส่งเสริมการผลิตมันสำปะหลังของเกษตรกรผู้ปลูกมันสำปะหลัง ในอำเภอลานสัก จังหวัดอุทัยธานี ผลการศึกษาพบว่า (I) เกษตรกรที่ให้สัมภาษณ์ส่วนใหญ่เป็นเพศชาย อายุเฉลี่ย 48 ปี จำนวนสมาชิกในครัวเรือนเฉลี่ย 4 คน จบการศึกษาระดับประถมศึกษา มีประสบการณ์ในการปลูกมันสำปะหลังเฉลี่ย 11 ปี พันธุ์ที่ใช้ปลูกนิยมใช้ระยอง 5 มีพื้นที่ทำการเกษตรเฉลี่ย 35.27 ไร่ ผลผลิตมันสำปะหลังต่อไร่เฉลี่ย 3.06 ตันมีรายได้จากการผลิตมันสำปะหลังเฉลี่ย 5,518.4 บาท/ไร่ ช่องทางการรับรู้ข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับการผลิตมันสำปะหลังของเกษตรกร โดยภาพรวมการรับรู้ข้อมูลข่าวสารอยู่ในระดับปานกลาง โดยรับรู้ผ่านช่องทางจากสื่อบุคคล สื่อกิจกรรม สื่อมวลชน และจากสื่อสิ่งพิมพ์ตามลำดับ (2) เกษตรกรส่วนใหญ่มีการปรับปรุงดินก่อนปลูก นิยมปลูกแบบยกร่อง ส่วนใหญ่ใช้ท่อนพันธุ์จากต้นที่มีอายุระหว่าง 8-12 เดือน เก็บท่อนพันธุ์ไว้ปลูกเอง ลักษณะการปลูกส่วนมากปักท่อนพันธุ์แบบตั้ง ใช้ปุ๋ยสูตร 15-15-15 มีการกำจัดวัชพืชโดยใช้สารเคมีกำจัด มีการป้องกันกำจัดโรคแมลงโดยการตรวจแปลงก่อนการใช้สารเคมี มีการเก็บเกี่ยวมันสำปะหลัง เมื่ออายุ 8-12 เดือน การขายมันสำปะหลังอยู่ในรูปหัวมันสด (3) เกษตรกรปฏิบัติตามระบบ (GAP) โดยภาพรวมมีการปฏิบัติตาม (GAP) ระดับมาก โดยด้านที่ปฏิบัติตามมากที่สุดคือ ด้านพันธุ์ รองลงมาคือ ด้านการเก็บเกี่ยวน้อยที่สุดคือด้านการบันทึกข้อมูล (4) เกษตรกรโดยภาพรวมมีปัญหาการผลิตมันสำปะหลังระดับปานกลางเรียงตามลำดับความสำคัญคือ ด้านการตลาด และด้านการผลิต ข้อเสนอแนะต้องการให้ภาครัฐมีมาตรการในการประกันราคามันสำปะหลัง และ และมีการควบคุมราคาวัตถุดิบในการผลิตให้มีราคาที่เหมาะสม (5) แนวทางการส่งเสริมการผลิตมันสำปะหลังมากที่สุดในรูปแบบการส่งเสริมแบบสาธิต และการส่งเสริมแบบการฝึกปฏิบัติth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมันสำปะหลัง--การปลูกth_TH
dc.titleการส่งเสริมและพัฒนาการผลิตมันสำปะหลังของเกษตรกรผู้ปลูกมันสำปะหลังในอำเภอลานสัก จังหวัดอุทัยธานีth_TH
dc.title.alternativeExtension and development of cassava production of farmers in Lan Sak District, Uthai Thani Provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameเกษตรศาสตร์มหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this research study were (1) to explore social and economic characteristics of cassava farmers in Lansak District, Uthai Thani Province; (2) to study production conditions of the cassava farmers; (3) to survey their adherence of Good Agricultural Practice (GAP) in Lansak District, Uthai Thani Province; (4) to survey their problems and recommendations from the GAP; (5) to gain an insight into promotional guidance on cassava cultivation of farmers in Lansak District, Uthai Thani Province The population in this study comprised of 2,977 Lansak District, Uthai Thani using Taro Yamane method and simple random sampling approach. Structured interviews were used for data collection. Statistical analysis used included frequency distribution, percentage, mean, standard deviation, and SPSS statistics. The research findings were as follows. (1) The majority of farmers were female, with an average age of 48 years old, primary education, and four members in the household. The average experience in cassava planting was 11 years, with an average yield of 30.6 tons per year. The average cassava planting area was 35.27 rai, with an average income of 5,518.4 Thai baht/ rai. The farmers got information regarding cassava production from personal media, activity media, mass media, and print media, respectively. (2) The majority of farmers fertilize the soil before planting. The most-used method was ridge planting, using cuttings from 8-12 months old cassava stems to plant vertically. 15-15-15 fertilizer and herbicides were used in the cultivation, along with plantation field checking before using chemical insecticides. The farmers harvested the cultivars after 8-12 months of cultivation and sold unprocessed. (3) The level of GAP practice among the farmers was high, with seeding practice at the highest, followed by harvesting practice and record maneuver at the lowest. (4) In general, the problems in cassava production were marketing and production, which were both at a moderate level. And (5) the most frequently used promotional guidance on cassava cultivation came in the form of demonstration method and practice methoden_US
Appears in Collections:Agri-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
FULLTEXT.pdfเอกสารฉบับเต็ม19.01 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons