Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/11737
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorจิระสุข สุขสวัสดิ์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorจิระภา พันธรัตน์, 2516--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2024-03-14T07:16:10Z-
dc.date.available2024-03-14T07:16:10Z-
dc.date.issued2562-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/11737-
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาระดับทุนทางจิตวิทยาเชิงบวก กลวิธีการเผชิญปัญหา และความสุขในการทำงาน และ (2) สร้างสมการทำนายความสุขในการทำงานของบุคลากรสายสนับสนุน คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่ กลุ่มตัวอย่างในการวิจัย คือ บุคลากรสายสนับสนุน คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่ จำนวน 107 คน ได้มาโดยใช้วิธีการสุ่มอย่างง่าย และผู้ให้ข้อมูล จํานวน 20 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แบบวัดทุนทางจิตวิทยาเชิงบวก แบบวัดกลวิธีการเผชิญปัญหา และแบบวัดความสุขในการทำงาน มีความเที่ยงทั้งฉบับเท่ากับ .76, .84 และ .81 ตามลำดับ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน วิเคราะห์ถดถอยพหุคูณ และการวิเคราะห์เนื้อหา ผลการศึกษาพบว่า (1) ทุนทางจิตวิทยาเชิงบวกอยู่ในระดับมาก กลวิธีการเผชิญปัญหาอยู่ในระดับปานกลาง และความสุขในการทำงานอยู่ในระดับมากที่สุด และ (2) ทุนทางจิตวิทยาเชิงบวกมีอิทธิพลต่อความสุขในการทำงานอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 และสามารถทำนายความสุขในการทำงานของบุคลากรสายสนับสนุน คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่ ได้ร้อยละ 43 โดยมีสมการทำนายปัจจัยที่ส่งผลต่อความสุขในการทำงานโดยใช้คะแนนมาตรฐาน คือ Z' = 0.63Z1 และกลุ่มตัวอย่างมีทุนทางจิตวิทยาเชิงบวกและกลวิธีการเผชิญปัญหาที่เหมาะสมจึงส่งผลให้สามารถรับมือกับสถานการณ์โรคระบาดโควิด-19 ได้อย่างมีประสิทธิภาพth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการแนะแนวและการปรึกษาเชิงจิตวิทยา--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์. คณะวิทยาศาสตร์ --ข้าราชการและพนักงาน--ความพอใจในการทำงานth_TH
dc.subjectคุณภาพชีวิตการทำงานth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--การแนะแนวและการปรึกษาเชิงจิตวิทยาth_TH
dc.titleปัจจัยที่ส่งผลต่อความสุขในการทำงานช่วงการระบาดของโรคโควิด-19 ของบุคลากรสายสนับสนุน คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่th_TH
dc.title.alternativeFactors affecting happiness in work performance during Covid-19 outbreak of Supporting Staff Members of the Faculty of Science, Prince of Songkla University, Hat Yai Campusen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต (การแนะแนวและการปรึกษาเชิงจิตวิทยา)th_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this study were (1) to study the levels of positive psychological capital, coping strategies and happiness in work performance of Supporting Staff Members of the Faculty of Science, Prince of Songkla University, Hat Yai Campus; and (2) to create a predicting equation to predict happiness in work performance of the Supporting Staff Members of the Faculty of Science, Prince of Songkla University, Hat Yai Campus. The research sample consisted of 107 of Supporting Staff Members of the Faculty of Science, Prince of Songkla University, Hat Yai Campus, all of whom were obtained by simple random sampling via 20 informants. The employed research instruments were a scale to access positive psychological capital, a scale to access coping strategies, and a scale to assess happiness in work performance, with reliability coefficients of .76, .84, and .81, respectively. Statistics employed for data analysis were the frequency, percentage, mean, standard deviation, multiple regression analysis and content analysis. Research findings revealed that (1) the rating means of the positive psychological capital were at the high level. The coping strategies were at the medium level and happiness in work performance of Supporting Staff Members of the Faculty of Science, Prince of Songkla University, Hat Yai Campus were at the highest level; and (2) the positive psychological capital had significant influence on happiness in work performance of Supporting Staff Members of the Faculty of Science, Prince of Songkla University, Hat Yai Campus at the .01 level of statistical significance and could be used to predict happiness in work performance of supporting staff members of the Faculty of science, Prince of Songkla University, Hat Yai Campus by 43 percent; and the predicting equation in the form of standard score was as shown Z '= 0.63Z1 and the research sample had positive psychological capital and appropriate coping strategies result in the dealing ability with the COVID-19 pandemic situation effectivelyen_US
Appears in Collections:Edu-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
FULLTEXT.pdfเอกสารฉบับเต็ม19.41 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons