Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/11773
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorพิทักษ์ ศรีสุขใสth_TH
dc.contributor.authorธัชณรงค์ ธัญญศรี, 2518-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2024-03-22T06:28:36Z-
dc.date.available2024-03-22T06:28:36Z-
dc.date.issued2558-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/11773-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ศ.ม. (เศรษศาสตร์ธุรกิจ))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2558th_TH
dc.description.abstractงานวิจัยชื้นนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาหาความสัมพันธ์เชิงดุลยภาพระยะยาวระหว่างดัชนีราคาผู้บริโภค อัตราดอกเบี้ยลูกค้ารายย่อยชั้นดี อัตราแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศ ดัชนีตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ปริมาณเงิน เงินสำรองระหว่างประเทศ และดัชนีการอุปโภคบริโภคภาคเอกชน หลังจากธนาคารแห่งประเทศไทยดำเนินนโยบายการเงินภายใต้กรอบเป้าหมายเงินเฟ้อ ระหว่างเดือนมิถุนายน 2543 ถึงธันวาคม 2557 ผลการศึกษาพบว่า มีความสัมพันธ์เชิงดุลยภาพระยะยาวจำนวน 1 รูปแบบ โดยตัวแปรที่มีผลต่อดัชนีราคาผู้บริโภค คือ ปริมาณเงิน และดัชนีการอุปโภคบริโภคภาคเอกชน ในทิศทางเดียวกัน ส่วนอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศ ดัชนีตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย และเงินสำรองระหว่างประเทศจะมีทิศทางตรงกันข้าม นอกจากนี้ ผลการวิเคราะห์วีอีซีเอ็ม ดัชนีราคาผู้บริโภค อัตราดอกเบี้ยลูกค้ารายย่อยชั้นดี และดัชนีการอุปโภคบริโภคภาคเอกชน มีการปรับตัวเข้าสู่ดลุยภาพในระยะยาว ผลการวิเคราะห์ปฏิกิริยาตอนสนอง ยังพบว่าเมื่อมีการเปลี่ยนแปลงแบบไม่คาดคิด ตัวแปรทางเศรษฐศาสตร์มหภาคจะปรับตัวสู่ดุลยภาพในระยะเวลาประมาณ 10 เดือนth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectดัชนีราคาผู้บริโภค--ไทยth_TH
dc.titleความสัมพันธ์เชิงดุลยภาพระหว่างดัชนีราคาผู้บริโภคกับตัวแปรทางเศรษฐศาสตร์มหภาคของไทยth_TH
dc.title.alternativeThe equilibrium relationship between consumer price index and Thai's macroeconomic variablesen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameเศรษฐศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาเศรษฐศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThis research aimed to study the long-run equilibrium relationship among consumer price index, minimum retail rate, exchange rate, SET index, money supply, international reserve and private consumption index in Thailand under the country's monetary policy : inflation targeting between June 2000 and December 2014. The methodology in such study applied the descriptive analysis and quantitative analysis comprising of the unit root test, co-integration, vector autoregression model, vector error correction model, and impulse response analysis. The results shown that there existed one cointegration relationship. The consumer price index was positively affected by money supply and private consumption index. On the contrary, it was negatively related with exchange rate, SET index, and international reserve. In addition, consumer price index, minimum retail rate and private consumption index accommodated to the long-term relationship equilibrium. Furthermore, the impulse response analysis demonstrated that the macroeconomic variables would adjust to equilibrium level about 10 months lateren_US
dc.contributor.coadvisorรัฐวิชญญ์ จิวสวัสดิ์th_TH
Appears in Collections:Econ-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
151544.pdfเอกสารฉบับเต็ม12.73 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons