Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/11789
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ธวัชชัย สุวรรณพานิช | th_TH |
dc.contributor.author | รติกร เจือกโว้น, 2527- | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิติศาสตร์ | th_TH |
dc.date.accessioned | 2024-03-29T02:44:42Z | - |
dc.date.available | 2024-03-29T02:44:42Z | - |
dc.date.issued | 2560 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/11789 | en_US |
dc.description.abstract | การศึกษาค้นคว้าอิสระนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาแนวคิดและทฤษฎีเกี่ยวกับการปกครองท้องถิ่นความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่ การไกล่เกลี่ยข้อพิพาท การไกล่เกลี่ยข้อพิพาทในคดีปกครอง การดำเนินการทางละเมิดของเจ้าหน้าที่และการไกล่เกลี่ยข้อพิพาทในคดีปกครองในระบบกฎหมายไทย และแนวทางในการ แก้ไขปรับปรุงกฎหมายว่าด้วยความรับผิดทางละเมิด ในส่วนที่เกี่ยวกับการไกล่เกลี่ยข้อพิพาทความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นผลการศึกษาพบว่า พระราชบัญญัติความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่ พ.ศ. 2539 และ ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยหลักเกณฑ์การปฏิบัติเกี่ยวกับความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่พ.ศ. 2539 ไม่ได้บัญญัติให้อำนาจองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินการไกล่เกลี่ยข้อพิพาททางละเมิดและประนีประนอมยอมความกัน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นจึงไม่สามารถดำเนินการไกล่เกลี่ยข้อพิพาททางละเมิดได้ ผู้ศึกษาขอเสนอแนวทางว่า ควรมีการแก้ไขปรับปรุงในส่วนของบทบัญญัติในระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยหลักเกณฑ์การปฏิบัติเกี่ยวกับความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่ พ.ศ. 2539 โดยกำหนดให้ผู้บริหารท้องถิ่นมีอำนาจในการนำข้อพิพาทเกี่ยวกับความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น เข้าสู่กระบวนการไกล่เกลี่ยข้อพิพาทได้เท่าที่ไม่เป็นการขัดต่อกฎหมายที่ใช้บังคับอยู่และจะต้องไม่กระทบต่อ ประโยชน์สาธารณะและกำหนดให้อายุความในการฟ้องคดีสะดุดหยุดอยู่นับแต่วันที่คู่กรณีทั้งสองฝ่ายลงลายมือชื่อ ยินยอมเข้าสู่กระบวนการไกล่เกลี่ยจนถึงวันที่สั่งจำ หน่ายข้อพิพาทหรือวันที่คู่กรณีทำสัญญาประนีประนอม ยอมความกันรวมทั้งกำหนดให้มีระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยการไกลเกลี่ยข้อพิพาทเกี่ยวกับความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ซึ่งกำหนดรายละเอียดหลักเกณฑ์ และวิธีการในการไกล่เกลี่ย ข้อพิพาท | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | การปกครองท้องถิ่น--กฎหมายและระเบียบข้อบังคับ--ไทย | th_TH |
dc.subject | การไกล่เกลี่ย | th_TH |
dc.subject | การระงับข้อพิพาท | th_TH |
dc.subject | การศึกษาอิสระ--กฎหมายมหาชน | th_TH |
dc.title | การไกล่เกลี่ยข้อพิพาทเกี่ยวกับความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น | th_TH |
dc.title.alternative | Conciliation of disputes concerning the liability for wrongful act of the Local Authority Officials | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | นิติศาสตรมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชานิติศาสตร์ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The purpose of the independent study is to study about the concepts, theories relating to the local administration, liabilities for wrongful act of officials, the conciliation of disputes, the conciliation of disputes in administrative case, the proceedings in the wrongful act of officials and the guideline to revise the provisions of law relevant to the liabilities of wrongful act in part of the conciliation of disputes concerning the liability for wrongful act of the local authority officials. This independent study is the qualitative research by means of the documentary research and gathering the information from the documents, consisting of the books, textbooks, the periodicals, the newspapers and other electronic media, including the research papers and thesis made by other researcher and the person collecting. Result of the research: the Act on Liability for Wrongful Act of Official B.E.2539 and the Regulation of the Office of Prime Minister on the rule of the proceedings concerning the liability for wrongful act of the officials B.E.2539 do not empower the local government to conciliate the wrongful act dispute and compromise. In consequence, the local government is unable to conciliate in the wrongful act. The author suggests revising the provisions of law in part of the Regulation of the Office of Prime Minister on the rule of the proceedings concerning the liability for wrongful act of the officials B.E.2539 by empowering the local officially to bring the wrongful act disputes of the local officials into the conciliation of the dispute process to the extent that this process is not against the existent laws and not affect the public interest. Moreover, the author suggests fixing the interrupted prescriptions since both parties sign into the conciliation process with the consent until disposing of the disputes or on the day the parties make a compromise contract and including to provide the Regulation of The Ministry of Interior on the conciliation the disputes concerning the liability for the wrongful act of the local authority officials which defining the rule and the method to conciliate disputes. | en_US |
Appears in Collections: | Law-Independent study |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
156066.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 4.03 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License