Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/11825
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวรรณวิภา เมืองถ้ำ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorธาริน จาดพันธ์อินทร์, 2508--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิติศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2024-04-02T08:53:26Z-
dc.date.available2024-04-02T08:53:26Z-
dc.date.issued2564-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/11825-
dc.description.abstractการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาแนวคิด ทฤษฎี วิวัฒนาการ และหลักการของประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญามาตรา 172 (2) ศึกษากฎหมายประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญามาตรา 172 กฎหมายไทยเปรียบเทียบกับกติการะหว่างประเทศว่าด้วยสิทธิพลเมืองและการเมือง ค.ศ. 1966 (ICCPR) และการพิจารณาคดีผ่านจอภาพ ประเทศอเมริกาประเทศอังกฤษ (3) วิเคราะห์ปัญหาตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญามาตรา 172 กฎหมายไทยเปรียบเทียบกับกติการะหว่างประเทศว่าด้วยสิทธิพลเมืองและการเมือง ค.ศ. 1966 (ICCPR) และการพิจารณาคดีผ่านจอภาพ ประเทศอเมริกา และประเทศอังกฤษ (4) สนอแนะแนวทางในการแก้ไขปรับปรุงประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 172 การวิจัยเป็นการวิจัยเชิงคุณภาพด้วยวิธีวิจัยเอกสาร โดยศึกษาจากประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา ของไทยและกฎหมายวิธีพิจารณาคดีผ่านจอภาพของประเทศอเมริกา และประเทศอังกฤษ บทความ วารสาร เอกสารทางวิชาการ งานวิจัย วิทยานิพนธ์ ข้อมูลจากเครือข่ายอินเทอร์เน็ตทั้งของประเทศไทยและต่างประเทศ จากการศึกษาพบว่า (1)การพิจารณาคดีอาญาของไทยเน้นการคุ้มครองสิทธิจำเลยอย่างเคร่งครัด โดยยึดหลักเกณฑ์สำคัญคือต้องพิจารณาคดีในศาลโดยเปิดเผยต่อหน้าจำเลย (2) ยังไม่มีกฎหมายไทยให้มีการพิจารณาคดีอาญาโดยที่คู่ความอยู่นอกศาลได้ แต่พยานอาจอยู่นอกศาลได้ (3) จากการศึกษาเปรียบเทียบพบว่าประเทศอเมริกา และประเทศอังกฤษ มีกฎหมายให้การพิจารณาคดีอาญาผ่านจอภาพโดยคู่ความอยู่นอกศาลได้ ในส่วนของประเทศไทยแม้มีการระบาดของโรคโควิดหลายระลอกก็ต้องเลื่อนการพิจารณาคดีออกไป เพราะยังไม่มีการตราหรือแก้ไขเพิ่มเติมกฎหมายให้มีการพิจารณาคดีผ่านจอภาพโดยคู่ความอยู่นอกศาลได้ (4) สมควรให้มีการแก้ไขเพิ่มเติมกฎหมายวิธีพิจารณาคดีอาญาในกรณีที่เกิดภัยพิบัติสาธารณะหรือมีเหตุจำเป็นอย่างยิ่งเพื่อความปลอดภัย ให้มีการพิจารณาคดีทางจอภาพโดยคู่ความอยู่นอกศาลได้ เพื่อแก้ไขสถานการณ์ดังกล่าวที่อาจเกิดขึ้นในอนาคตth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectวิธีพิจารณาความอาญา--ไทยth_TH
dc.subjectการประชุมทางไกลผ่านจอภาพth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--กฎหมายอาญาและกระบวนการยุติธรรมth_TH
dc.titleการพิจารณาคดีอาญาลักษณะการประชุมทางจอภาพตามร่างแก้ไขประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 172 วรรคหนึ่งth_TH
dc.title.alternativeStudy of criminal trials, the nature of the videoconference. according to the draft amendment to the Criminal Procedure Code, Section 172, first paragraphen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameนิติศาสตร์มหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชานิติศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research (1) are to study the concepts, theories, evolution and principles of Article 172 of the Criminal Procedure Code; (2) to study Article 172 of the Criminal Procedure Code, Thai law in comparison with the International Covenant on Civil and Political Rights. 1966 (ICCPR) and the Screen Trial United States, England, (3) to analyze problems under Article 172 of the Criminal Procedure Code, comparative Thai law. with the 1966 International Covenant on Civil and Political Rights (ICCPR) and screened trials. America and England (4) to suggest guidelines for amendments to the Criminal Procedure Code, Section 172. Research is a qualitative research using document research method. by studying from the Criminal Procedure Code of Thailand and judicial law through screens of the United States and the United Kingdom, articles, journals, academic documents, research papers, theses, data from internet networks both in Thailand and abroad. The study found that (1) Thailand's criminal trials strictly emphasize the protection of defendants' rights. By adhering to an important rule, the case must be heard in court openly in front of the defendant. (2) There is no Thai law to allow criminal trials where the parties are outside the court. but the witness may be outside the court (3) A comparative study found that the United States and England There is a law that allows criminal trials to be screened by parties outside the courts. In Thailand, despite several waves of coronavirus outbreaks, the trial had to be postponed. because the law has not yet been enacted or amended to allow trials through the screen by the parties outside the court; safety To have the case on screen by the parties outside the court. to remedy such situations that may arise in the futureen_US
Appears in Collections:Law-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
168805.pdfเอกสารฉบับเต็ม11.66 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons