Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/11891
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorดลพร บุญพารอด, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorลัดดาวัลย์ เพชรโรจน์, 2524--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.date.accessioned2024-04-17T07:47:29Z-
dc.date.available2024-04-17T07:47:29Z-
dc.date.issued2554-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/11891-
dc.description.abstractการศึกษาค้นคว้าอิสระครั้งนี้มีวัตถุประสงค์คังต่อไปนี้ 1) เพื่อศึกษาการมีส่วนร่วมในการจัดทำบัญชีครัวเรือนของประชาชนในคำบลช้างเผือก อำเภอสุวรรณภูมิ จังหวัคร้อยเอ็ด 2) เพื่อเปรียบเทียบการมีส่วนร่วมในการจัดทำบัญชีครัวเรือนในตำบลช้างเผือก อำเภอสุวรรณภูมิ จังหวัคร้อยเอ็ด ของประชาชนที่มีเพศ อายุ และระดับการศึกษา ต่างกัน และ 3) เพื่อศึกษาข้อเสนอแนะของประชาชนเกี่ยวกับการมีส่วนร่วมในการจัดทำบัญชีครัวเรือนของประชาชนในตำบลช้างเผือก อำเกอสุวรรณภูมิ จังหวัดร้อยเอ็ดกลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ หัวหน้าครัวเรือน หรือผู้แทนครัวเรือน ที่เข้าร่วม โกรงการการจัดทำบัญชีครัวเรือนตำบลช้างเผือก อำเภอสุวรรณภูมิ จังหวัดร้อยเอ็ด จำนวน 308 คน เครื่องมือที่ใช้ใน การวิจัยเป็นแบบสอบถามมาตราส่วนประมาณค่าห้ระดับ จำนวน 37 ข้อ มีค่าอำนาจจำแนกระหว่าง 1.99 - 11.13 และค่าความเชื่อมั่นของแบบสอบถามทั้งฉบับเท่ากับ 0.91 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ประกอบด้วย การแจกแจงความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน เปรียบเทียบความเตกต่างโดยใช้ r-test F-test (One-way ANOVA) และทดสอบความแตกต่างรายคู่ด้วยวิธีการ LSD แล้วนำเสนอผลการศึกษาโดยวิธีพรรณนาวิเคราะห์ (Analytical Description) ผลการศึกษาพบว่า 1) ประชาชนตำบลช้างเผือก อำเภอสุวรรณภูมิ จังหวัดร้อยเอ็ด มีส่วนร่วมในการจัดทำบัญชีครัวเรือน ด้านการจัดทำบัญชีครัวเรือนในระดับน้อย ส่วนอีกสองด้านอยู่ในระดับปานกลางลำดับตามค่าเฉลี่ยจากสูงไปหาต่ำคือ ด้านการเข้าร่วมประชุมชี้แจง และด้านความร่วมมือการจัดทำบัญชีครัวเรือน 2) เปรียบเทียบการมีส่วนร่วมในการจัดทำบัญชีของประชาชนตำบลช้างเผือก อำเภอสุวรรณภูมิจังหวัดร้อยเอ็ด ที่มีเพศต่างกัน มีส่วนร่วมในการจัดทำบัญชีครัวเรือน ไม่แตกต่างกัน ส่วนประชาชนตำบลช้างเผือก อำเภอสุวรรณภูมิ จังหวัดร้อยเอ็ด ที่มีอายุ และระดับการศึกษาต่างกัน มีส่วนร่วมในการจัดทำบัญชีครัวเรือน แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และ 3) ประชาชนตำบลช้างเผือก อำเภอสุวรรณภูมิจังหวัดร้อยเอ็ด ได้เสนอแนะการมีส่วนร่วมในการจัดทำบัญชีครัวเรือน ลำดับตามความถี่จากมากไปหาน้อยคือ หน่วยงานราชการควรจัดเจ้าหน้าที่มาให้ความรู้เกี่ยวกับเรื่องการจัดทำบัญชีครัวเรือนอย่างสม่ำเสมอหน่วยงานราชการควรจัดอบรมการจัดทำบัญชีครัวเรือนอย่างต่อเนื่อง และควรมีการรณรงค์ให้ประชาชนทุกหมู่บ้านเข้าร่วมประชุมเพื่อรับฟังคำชี้แจงเกี่ยวกับการจัดทำบัญชีครัวเรือนth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/-
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectครัวเรือน--การบัญชี--ไทยth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--บริหารธุรกิจth_TH
dc.subjectบัญชีth_TH
dc.titleการมีส่วนร่วมในการจัดทำบัญชีครัวเรือนของประชาชนในตำบลช้างเผือก อำเภอสุวรรณภูมิ จังหวัดร้อยเอ็ดth_TH
dc.title.alternativePeople's participation in making household accounts in tambon Chang Phuak, Suwannaphum District, Roi Et Provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeAn Independent Study objectives were aimed to: 1) explore residents’ participation in doing household bookkeeping in Tambon Chang Phuak of Roi Et’s Suwannaphum district, 2) compare their participation so doing here, resting on their differing genders, ages and educational backgrounds and, 3) examine their suggestions on their participation as such. The sampling group included 308 household chiefs/household representatives participating in the project. The device used for the research was the five rating scale questionnaire containing 37 questions, in which each of them was endowed with the power of discrimination ranging from 1.99 to 1.33, and reliability for the entire issue amounting to 0.91. The statistics utilized for analyzing data encompassed: frequency distribution, percentage, mean and standard deviation, comparing difference by making use of t-test and F-test (One-way ANOVA), and testing a single pair difference by way of LSD. Then, study findings were presented through the analytical description. Study findings: 1) Residents’ participation in the aspect of doing household bookkeeping here was rated below average; while other two aspects were rated average with those placed in descending order of means being: meeting attendance for elaboration and cooperation in doing household book keeping. 2) The relative result of doing household bookkeeping here revealed that no significant difference over their differing genders was found correlated with their participation in doing household bookkeeping here, whereas their differing ages and educational backgrounds were found correlated with their participation in doing household bookkeeping here, with the statistical significance at .05. and 3) Their first three suggestions, placed in descending order of frequencies, on doing household bookkeeping were: residents should be regularly imparted with knowledge of doing household bookkeeping by officials from the government sector concerned, they should be continually trained with household bookkeeping courses by government officials, and campaigns should be launched by the government sector so that residents from every village should attend the meetings to realize ways of doing household bookkeeping.en_US
Appears in Collections:Manage-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
128332.pdfเอกสารฉบับเต็ม14.68 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons