Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/11926
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | พาณี สีตกะลิน | th_TH |
dc.contributor.author | ธีรพล เงินมูล, 2524- | - |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษา | th_TH |
dc.date.accessioned | 2024-04-18T03:57:07Z | - |
dc.date.available | 2024-04-18T03:57:07Z | - |
dc.date.issued | 2562 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/11926 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (ส.ม.(บริหารโรงพยาบาล))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2562 | th_TH |
dc.description.abstract | การวิจัยเชิงพรรณนานี้วัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) ปัจจัยส่วนบุคคล ระดับบรรยากาศองค์การ (2) ระดับคุณภาพชีวิตการทำงาน และ (3) ปัจจัยส่วนบุคคล และบรรยากาศองค์การที่ส่งผลต่อคุณภาพชีวิตการทำงาน ของบุคลากรที่ปฏิบัติงานในโรงพยาบาลชุมชนขนาด 30 เตียง ในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ ประชากรคือบุคลากรในโรงพยาบาลชุมชนขนาด 30 เตียง จำนวน 8 แห่ง จำนวน 1,280 คน กลุ่มตัวอย่างได้จำนวน 285 คน เครื่องมือที่ใช้ คือ แบบสอบถามมี 3 ส่วน ได้แก่ ข้อมูลปัจจัยส่วนบุคคล บรรยากาศองค์การ และคุณภาพชีวิตการทำงาน มีค่าความตรง 0.90 สถิติที่ใช้คือ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และวิธีวิเคราะห์การถดถอยแบบพหุคูณ ผลการวิจัยพบว่า (1) ปัจจัยส่วนบุคคล บุคลากรส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง และเป็นพยาบาลวิชาชีพ ส่วนมาก อายุ 37 ปี นับถือศาสนาอิสลาม สถานภาพสมรส มีบุตรจำนวน 2 คน ภูมิลำเนาอยู่ในพื้นที่ 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้ มีรายได้ 20,000 – 30,000 บาทต่อเดือน ระยะเวลาที่ปฏิบัติงานในพื้นที่ 4-11 ปี บรรยากาศองค์การในภาพรวมอยู่ในระดับดี (2) ภาพรวมคุณภาพชีวิตการทำงานอยู่ในระดับดี และ (3) ปัจจัยส่วนบุคคลที่ส่งผลต่อคุณภาพชีวิตการทำงานคือ เพศ บรรยากาศองค์การที่ส่งผลต่อคุณภาพชีวิตการทำงานคือ โครงสร้างของงาน การมีส่วนร่วมการตัดสินใจ การฝึกอบรมพัฒนา ความมั่นคงและความเสี่ยง สถานภาพและขวัญ การเปิดเผยและการปกปิดตนเอง และความสามารถและความคล่องตัวในการทำงานส่งผลต่อคุณภาพชีวิตอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ--วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกบริหารโรงพยาบาล--วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | สภาพแวดล้อมการทำงาน--ไทย (ภาคใต้) | th_TH |
dc.subject | คุณภาพชีวิตการทำงาน--ไทย (ภาคใต้) | th_TH |
dc.title | บรรยากาศองค์การที่ส่งผลต่อคุณภาพชีวิตการทำงานของบุคลากรในโรงพยาบาลชุมชน ขนาด 30 เตียง ในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ | th_TH |
dc.title.alternative | Organizational climate affecting the staff’s quality of working life in 30-bed community hospitals in Three Southern Border Provinces | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | สาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | This descriptive research, aimed to (1) identify personal factors, (2) explore organizational climate, (3) determine levels of quality of working life (QWL), and (4) identify personal factors and organizational climate that affected the QWL, all of personnel working at 30-bed community hospitals in three southern border provinces. The study involved 285 staff members, selected from all 1,280 personnel using the proportional stratified random sampling, at 8 30-bed community hospitals in the provinces. Data were collected using a 3-part questionnaire for personal factors, organizational climate, and quality of working life; its validity value was 0.90. The statistics used were percentage, mean, standard deviation, and multiple regression analysis. The results showed that: (1) most of the respondents were married female Muslim registered nurses aged 37 years, had 2 children and residences in the three southern border provinces with a monthly income of 20,000–30,000 baht and a job tenure of 4–11 years in the area; the overall organizational climate was at a good level; (2) the level of the overall QWL was also good; and (3) the personal factor that affected the QWL was gender; the organizational climate that significantly affected the QWL included work structure, participation in decision-making, development training, security and risk, status and morale, self-disclosure and close-up, and working ability and flexibility | en_US |
dc.contributor.coadvisor | ปกกมล เหล่ารักษาวง | th_TH |
Appears in Collections: | Health-Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
FULLTEXT.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 15.95 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License