Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/11931
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorบุญทิพย์ สิริธรังศรี, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorวันเพ็ญ ภิญโญภาสกุล, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorนิตยา กระจ่างแก้ว, 2511--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2024-04-18T06:03:59Z-
dc.date.available2024-04-18T06:03:59Z-
dc.date.issued2563-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/11931-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (พย.ม.(การบริหารการพยาบาล))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2563th_TH
dc.description.abstractการวิจัยกึ่งทดลองนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบ 1) ระดับความรู้ ความเครียด พฤติกรรมการจัดการภาวะความดันโลหิตสูง และ 2) ระดับความดันโลหิตก่อนและหลังเข้าร่วมโปรแกรมการจัดการภาวะความดันโลหิตสูงสำหรับผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองที่มีสาเหตุจากภาวะความดันโลหิตสูง หอผู้ป่วยอายุรกรรม โรงพยาบาลประสาทเชียงใหม่ คัดเลือกแบบเฉพาะเจาะจง จำนวน 14 คน เครื่องมือวิจัย ประกอบด้วย เครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูล คือ แบบประเมินมีทั้งหมด 4 ชุด โดยผู้วิจัยได้สร้างและพัฒนาขึ้นเอง 3 ชุด ได้แก่ แบบสอบถามข้อมูลทั่วไป แบบสอบถามความรู้ และแบบสอบถามพฤติกรรมการดูแลตนเองของผู้ป่วย สำหรับแบบวัดระดับความเครียดได้นำมาจาก แบบวัดความเครียด กรมสุขภาพจิต ; SPST-20 (2550) และเครื่องมือในการดำเนินการ คือ โปรแกรมการจัดการภาวะความดันโลหิตสูง มี 3 กิจกรรมหลัก ได้แก่ (1) การประเมินความรู้ ระดับความเครียด และพฤติกรรมการดูแลตนเองของผู้ป่วยผ่านแอพพลิเคชันไลน์ (QR Code) ก่อนและหลังเข้าโปรแกรม (2) การให้ความรู้และคำปรึกษาในการปฏิบัติตนเกี่ยวกับการจัดการภาวะความดันโลหิตสูงแก่ผู้ป่วยและผู้ดูแลในขณะที่อยู่โรงพยาบาล และแนะนำการใช้แอพพลิเคชันไลน์แก่ผู้ป่วยและญาติ และ (3) ติดตามระดับความดันโลหิตสัปดาห์ละครั้ง จำนวน 4 ครั้ง และเมื่อเข้าโปรแกรมครบ 4 สัปดาห์แล้ว ให้ผู้ป่วยหรือผู้ดูแลตอบแบบประเมินทั้ง 4 ชุดส่งกลับมาให้ผู้วิจัยทางแอพพลิเคชันไลน์ แบบสอบถามทั้ง 3 ชุด และโปรแกรมการจัดการภาวะความดันโลหิตสูงที่ผู้วิจัยสร้างขึ้น ได้ผ่านการตรวจสอบความตรงตามเนื้อหาจากผู้ทรงคุณวุฒิ 5 ท่าน มีค่าดัชนีความตรงตามเนื้อหาเท่ากับ 1.0, 0.85, 0.97 และ 0.80 ตามลำดับ วิเคราะห์ข้อมูลด้วยการแจกแจงความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตราาน และสถิติ paired t-test ผลการวิจัยพบว่า 1) ระดับความรู้และระดับความเครียดก่อนและหลังเข้าร่วมโปรแกรมไม่แตกต่างกัน สำหรับพฤติกรรมการจัดการภาวะความดันโลหิตสูงก่อนและหลังเข้าโปรแกรมแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 และ 2) ความดันโลหิตก่อนและหลังเข้าร่วมโปรแกรมลดลงอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาพยาบาลศาสตร์--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการบริหารการพยาบาล--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectความดันเลือดสูง--การป้องกันth_TH
dc.subjectโรคหลอดเลือดสมอง--การป้องกันth_TH
dc.titleผลของโปรแกรมการจัดการภาวะความดันโลหิตสูงสำหรับผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองth_TH
dc.title.alternativeThe effect of management program to control hypertension among stroke patientsen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต (การบริหารการพยาบาล)th_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาพยาบาลศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this quasi-experimental study was to compare 1) the level of knowledge, stress, behavior of hypertension management, and 2) the blood pressure levels before and after participated the hypertensive management program for patients with cerebrovascular disease. The sample group were 14 cerebrovascular patients caused by hypertension who admitted at Chiangmai Neurological Hospital. 14 persons were selected individually by purposive exampling. The research instruments consisted of 4 tools for data collection. The researcher has created and developed 3 sets by himself, namely general information questionnaires. knowledge questionnaire and the patient self-care behavior questionnaire.The stress questionnaire was taken from Stress Scale, Department of Mental Health ; SPST - 20 (2007). The tools for implementing the hypertension management program consisted of 3 main activities. Including (1) knowledge assessment stress level and self-care behavior of patients through the application line (QR Code) before and after the program. (2) The preparation of patients and caregivers while were in hospital and recommend the use of the LINE application to patients and relatives; and (3) The blood pressure level was monitored four times a week, and after the completion of the four-week program, the patient or caregiver had to complete the four assessments and return them to the researcher via the LINE application. The research instruments consisted of 3tools for data collection ; namely general information questionnaires, knowledge questionnaire,patient self-care behavior questionnaire and hypertension management program were validated by 5 experts with content validity indexes of 1.0, 0.85, 0.97 and 0.80, respectively. The data were analyzed by frequency distribution, percentage, mean, standard deviation and paired t-test. The results of the research showed that 1) the knowledge level and the stress level before and after the program were not different. The pre- and post-program hypertensive management behaviors were statistically significant at 0.05 and 2) The pre- and post- program blood pressure was significantly at 0.05en_US
Appears in Collections:Nurse-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
FULLTEXT.pdfเอกสารฉบับเต็ม10.44 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons