Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/11932
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorพัทยา แก้วสาร, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorบุญทิพย์ สิริธรังศรี, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorเสาวนีย์ หนุนนาค, 2515--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2024-04-18T06:12:16Z-
dc.date.available2024-04-18T06:12:16Z-
dc.date.issued2564-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/11932-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (พย.ม.(การบริหารการพยาบาล))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2564th_TH
dc.description.abstractการวิจัยเชิงพรรณนานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) สร้างนวัตกรรมการคัดกรองภาวะตัวเหลืองจากสีผิวของทารกแรกเกิด 2) ศึกษาเปรียบเทียบผลการคัดกรองภาวะตัวเหลืองทางสีผิวของทารกแรกเกิด ระหว่างกล่องคัดกรองสีผิวที่พัฒนาขึ้นในบรรยากาศห้อง และค่าระดับบิลิรูบินในซีรัม และ 3) ศึกษาความพึงพอใจของพยาบาลวิชาชีพต่อการใช้นวัตกรรมการคัดกรองภาวะตัวเหลืองทางสีผิวของทารกแรกเกิด กลุ่มตัวอย่างมี 2 กลุ่ม คือ 1) กลุ่มทารกแรกเกิดครบกำหนดอายุภายใน 48 ชั่วโมงหลังเกิด 42 คน และ 2) พยาบาลวิชาชีพปฏิบัติการ 8 คน เครื่องมือวิจัยคือ กล่องคัดกรองสีผิวและคู่มือการใช้งาน แบบบันทึกการคัดกรองภาวะตัวเหลืองทางสีผิวของทารกแรกเกิด แบ่งเป็น 4 โซนตามแนวคิดของวารูเกเซ แบบบันทึกความสอดคล้องของการคัดกรองภาวะตัวเหลืองทางสีผิวของทารกแรกเกิด ระหว่างกล่องคัดกรองสีผิว บรรยากาศห้อง และค่าระดับบิลลิรูบินในซีรัม และแบบสอบถามความพึงพอใจของพยาบาลต่อการใช้นวัตกรรมการคัดกรองภาวะตัวเหลืองทางสีผิวของทารกแรกเกิด วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติเชิงพรรณนา ผลการวิจัยพบว่า 1) นวัตกรรมกล่องคัดกรองสีผิวประกอบด้วย ส่วนที่ 1 กล่องครอบตัวทารก ทำจากฟิวเจอร์บอร์ดสีดำและบุผนังภายในด้วยผ้าสีดา ผนังด้านซ้ายเปิดเพื่อการสังเกตุสีผิว ด้านบนเจาะช่องเพื่อวางโคมไฟ และเบาะรองทารกปูด้วยผ้าขาว ส่วนที่ 2 โคมไฟส่องสีผิว หลอดแอลอีดีแสงสีขาวขนาด 3 วัตต์ 2) ผลการเปรียบเทียบพบว่า (1) การคัดกรองภาวะตัวเหลืองทางสีผิวของทารกแรกเกิด ที่โซน 1 และโซน 4 การสังเกตด้วยกล่องคัดกรองหรือในบรรยากาศห้องสอดคล้องกับค่าระดับบิลลิรูบินในซีรัม เท่ากันคือร้อยละ 100 และ 14.29 ตามลำดับ (2) การคัดกรองภาวะตัวเหลืองทางสีผิวของทารกแรกเกิดที่โซน 2 การสังเกตด้วยกล่องคัดกรองสอดมีความสอดคล้องกับค่าระดับบิลลิรูบินในซีรัม สูงกว่าที่บรรยากาศห้องคือ ร้อยละ 18.75 และร้อยละ 6.25 ตามลำดับและ (3) การคัดกรองภาวะตัวเหลืองทางสีผิวของทารกแรกเกิดที่โซน 3 การสังเกตด้วยกล่องคัดกรองมีความสอดคล้องกับค่าระดับบิลลิรูบินในซีรัม ต่ากว่าที่บรรยากาศห้องคือร้อยละ 6.67 และ 13.33 ตามลาดับ และ 3) พยาบาลวิชาชีพมีความพึงพอใจต่อการใช้นวัตกรรมกล่องคัดกรองสีผิวโดยรวมอยู่ในระดับมาก ชี้ให้เห็นว่าควรศึกษาต่อยอดเพื่อการปรับปรุงนวัตกรรมกล่องคัดกรองสีผิวให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น เพื่อเป็นทางเลือกในการทดแทนอุปกรณ์การคัดกรองภาวะตัวเหลืองทางสีผิวของทารกแรกเกิดซึ่งมีราคาสูงth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาพยาบาลศาสตร์--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการบริหารการพยาบาล--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectการสำแดงอาการทางผิวหนังth_TH
dc.subjectการตรวจคัดโรค--นวัตกรรมทางเทคโนโลยีth_TH
dc.titleนวัตกรรมการคัดกรองภาวะตัวเหลืองจากสีผิวของทารกแรกเกิด : กรณีศึกษาโรงพยาบาลบ้านหมี่ จังหวัดลพบุรีth_TH
dc.title.alternativeThe innovation of skin Color Screening for Neonatal Jaundice : a case study at Banmi Hospital Lopburien_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต (การบริหารการพยาบาล)th_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาพยาบาลศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this descriptive research were 1) to innovate a Skin Color Screening for Neonatal Jaundice (SCS-NJ); 2) to compare the use of SCS-NJ between the interior conditions and the total serum bilirubin (TSB) value; and 3) to evaluate the satisfaction of professional nurses with using the SCS-NJ. The sample population at Banmi Hospital, Lopburi Province, consisted of 2 groups:1) 42 full-term neonates within 48 hours postnatal; and 2) 8 professional nurses. The research instruments consisted of the SCS-NJ box and a user manual. In addition, there is a data recording form related to SCS-NJ measurements at interior conditions and the neonate TSB values following the concept of Varughese divided into 4 zones. A questionnaire to evaluate nurses’ satisfaction with using the SCS-NJ box was used. Data were analyzed using descriptive statistics. The results were as follows. 1) The SCS-NJ box consisted of Part 1-the case to cover the infant, made of black corrugated plastic sheets and lined with black cloth. The left side was open to observe neonate skin color and the top had an aperture for fitting the lamp. The cushion for placing the infant on was covered in white cloth. Part 2- a 3-watt, white light LED lamp. 2) The comparison showed that (1) Screening using Zone 1 and Zone 4 of the SCS-NJ box gave comparable results to TSB values at interior conditions at 100% and 14.29%, respectively. (2) Screening using Zone 2 of the SCS-NJ box gave comparable results to TSB values higher than at interior conditions by 18.75% and 6.25%, respectively. (3) Screening using Zone 3 of the SCS-NJ box gave comparable results to TSB values lower than at interior conditions by 6.67% and 13.33%, respectively. 3) Overall, the nurses were highly satisfied with using the SCS-NJ. This indicates that further development of this innovation is warranted in order to make it even more effective, because it can be an alternative to other SCS-NJ units that are expensiveen_US
Appears in Collections:Nurse-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
FULLTEXT.pdfเอกสารฉบับเต็ม18.49 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons