Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/11943
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ภาวิน ชินะโชติ, อาจารย์ที่ปรึกษา | th_TH |
dc.contributor.advisor | ภูริพัฒน์ ชาญกิจ, อาจารย์ที่ปรึกษา | th_TH |
dc.contributor.author | สุภาภรณ์ สุวรรณชะรา, 2534- | - |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษา | th_TH |
dc.date.accessioned | 2024-04-18T07:24:28Z | - |
dc.date.available | 2024-04-18T07:24:28Z | - |
dc.date.issued | 2564 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/11943 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (บธ.ม.(บริหารธุรกิจ))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2564 | th_TH |
dc.description.abstract | การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาความต้องการในการพัฒนาสมรรถนะบุคลากรของสำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) (2) ศึกษารูปแบบการพัฒนาสมรรถนะบุคลากรของสำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) (3) เสนอแนะเชิงนโยบายในการพัฒนาสมรรถนะบุคลากรของสำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) การศึกษานี้เป็นแบบผสมวิธี โดยการวิจัยเชิงปริมาณ ศึกษาจากหัวหน้าภารกิจ หัวหน้างาน นักวิชาการ เจ้าหน้าที่ปฏิบัติการ ลูกจ้างชั่วคราว จำนวน 99 ตัวอย่าง เครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูลใช้แบบสอบถาม วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ส่วนการวิจัยเชิงคุณภาพ ผู้ให้ข้อมูลทั้งหมด 7 คน ได้แก่ ผู้บริหารระดับสูง ประกอบไปด้วย รองผู้อานวยการ จำนวน 3 คน และหัวหน้าสำนัก จำนวน 4 คน เครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูลใช้การสัมภาษณ์ และการวิเคราะห์ข้อมูลใช้การสังเคราะห์ข้อความและตรวจสอบยืนยัน ผลการศึกษาพบว่า (1) บุคลากรสำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) มีความต้องการที่จะพัฒนาสมรรถนะทั้งหมด 12 สมรรถนะ โดยสมรรถนะที่ต้องการพัฒนามากที่สุด ได้แก่ การทำงานแบบมุ่งผลสัมฤทธิ์ การประเมินคุณภาพ และความสามารถในการวางแผน (2) รูปแบบการพัฒนาสมรรถนะบุคลากรของสำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) มี 10 รูปแบบ ได้แก่ การปฐมนิเทศ การประชุม การฝึกงานในสถานการณ์จริง การฝึกอบรม การมีพี่เลี้ยง การศึกษา การศึกษาดูงาน การสับเปลี่ยนหมุนเวียนงาน การสัมมนา และการเสนอแนะ (3) ข้อเสนอแนะเชิงนโยบายในการพัฒนาสมรรถนะบุคลากรของสำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) คือ ควรทำแผนการพัฒนารายบุคคลระยะสั้น (รายปี) และระยะยาว (2-3 ปี) โดยต้องผูกโยงกับเส้นทางความก้าวหน้าในสายอาชีพที่ชัดเจน และพัฒนาสมรรถนะที่ครอบคลุมทั้ง สมรรถนะหลัก สมรรถนะหน้าที่ และสมรรถนะการจัดการ เป็นประจำทุกปี โดยกำหนดวงเงินงบประมาณสำหรับการพัฒนาตนเองของบุคลากรในแต่ละระดับเป็นรายบุคคลไว้ให้ชัดเจน และสามารถยืดหยุ่นได้ตามความจำเป็น | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ--วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารธุรกิจ--วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา--การพัฒนาบุคลากร | th_TH |
dc.title | การพัฒนาสมรรถนะบุคลากรของสำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) | th_TH |
dc.title.alternative | Competency development for personnel of The Office for National Education Standards and Quality Assessment (Public Organization) | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาวิทยาการจัดการ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The purposes of this study were to (1) study the need of competency development for personnel of The Office for National Education Standards and Quality Assessment (Public Organization), (2) study the model of personnel competency development of The Office for National Education Standards and Quality Assessment (Public Organization), and (3) to provide policy recommendations for personnel competency development of The Office for National Education Standards and Quality Assessment (Public Organization). This study used a mixed method. A quantitative approach was used for collecting data from 99 respondents: leaders, supervisors, academic officers, operational officers, and temporary staffs. The data collection tool was a questionnaire. To analyze data frequency, percentage, mean and standard deviation were used. For qualitative part, 7 informants, senior executives, comprising of 3 deputy directors and 4 office heads, were interviewed. It was a interview, content synthesis and verification were used as data analysis strategy. The results of this study were (1) personnel of The Office for National Education Standards and Quality Assessment (Public Organization) need to develop all 12 competencies. The three highest demanded competencies are Result oriented, Quality assessment, and Planning (2) models for developing personnel competency of The Office for National Education Standards and Quality Assessment (Public Organization) has 10 approaches, which are: Orientation, Conference, On the Job Training, Training, Mentoring, Education, Study Visit, Job Rotation, Seminar and Coaching, and (3) policy recommendations for personnel competency development of The Office for National Education Standards and Quality Assessment (Public Organization) is to make short-term (annual) and long-term (2-3 years) individual development plans that must be linked to a clear career path, and cover both core competencies, functional competencies and managerial competencies. To do so, the budget limit for the self-development of personnel at each level should be clearly set for each individual and be flexible as needed | en_US |
Appears in Collections: | Manage-Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
FULLTEXT.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 20.79 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License