Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/11968
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorกิ่งพร ทองใบ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorศิโรธร อยู่ฤทธิ์, 2507--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.date.accessioned2024-04-19T07:22:08Z-
dc.date.available2024-04-19T07:22:08Z-
dc.date.issued2560-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/11968-
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาระดับความผูกพันต่อองค์การของพนักงาน มหาวิทยาลัยสวนดุสิต (2) เปรียบเทียบความผูกพันต่อองค์การของพนักงานมหาวิทยาลัยสวนดุสิต จำแนกตามปัจจัยพื้นฐานส่วนบุคคล และ (3) เสนอแนะแนวทางการสร้างเสริมความผูกพันต่อองค์การของพนักงานมหาวิทยาลัยสวนดุสิต การศึกษาครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงสำรวจ ประชากร คือ พนักงานมหาวิทยาลัยสวนดุสิต จำนวน 1,167 คน กำหนดขนาดกลุ่มตัวอย่างตามสูตรของทาโร ยามาเน่ ได้ 298 คน โดยใช้ แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูล สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบค่าที การทดสอบค่าเอฟ การวิเคราะห์ความ แปรปรวนทางเดียว และเปรียบเทียบความแตกต่างเป็นรายคู่ด้วยวิธีเชฟเฟ่ ผลการศึกษาพบว่า (1) ระดับความผูกพันต่อองค์การของพนักงานมหาวิทยาลัย สวนดุสิต โดยภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สุด เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านพบว่า ระดับความผูกพันอยู่ใน ระดับมาก ได้แก่ ด้านความเต็มใจที่จะทุ่มเทความพยายามเพื่อความสำเร็จขององค์การ รองลงมาคือ ด้านความเชื่อมั่นในการยอมรับเป้าหมายองค์การ และด้านความต้องการที่จะรักษาความเป็นสมาชิก ขององค์การ (2) พบว่า พนักงานมหาวิทยาลัยสวนดุสิตที่มีเพศ ระดับการศึกษาแตกต่างกันมีความ ผูกพันต่อองค์การไม่แตกต่างกัน ส่วนพนักงานมหาวิทยาลัยที่มีอายุ ตำแหน่งงาน รายได้ สถานภาพ การสมรส และระยะเวลาที่ปฏิบัติงานแตกต่างกันมีความผูกพันต่อองค์การแตกต่างกัน อย่างมี นัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 และ (3) ข้อเสนอแนะในการเสริมสร้างความผูกพันต่อองค์การของพนักงานมหาวิทยาลัยสวนดุสิต ได้แก่ การจัดกิจกรรมเพื่อส่งเสริมความสามัคคีให้กับพนักงาน มหาวิทยาลัยสวนดุสิตมากขึ้น การส่งเสริมการพัฒนาทักษะความรู้เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติงานของ พนักงานมหาวิทยาลัยสวนดุสิตอย่างต่อเนื่องth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/-
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectความผูกพันต่อองค์การth_TH
dc.subjectพนักงานมหาวิทยาลัยth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--บริหารธุรกิจth_TH
dc.titleความผูกพันต่อองค์การของพนักงานมหาวิทยาสวนดุสิตth_TH
dc.title.alternativeOrganizational commitment of employees of Suan Dusit Universityen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this study were: (1) to measure the organizational commitment of employees at Suan Dusit University; (2) to compare the organizational commitment of employees based on personal characteristics; and (3) to propose guidelines of how to promote organizational commitment for employees at Suan Dusit University. The population of this survey research was 1,167 employees at Suan Dusit University. The sample was 298 employees, calculated by using Taro Yamane’s formula. A questionnaire was a tool for data collection. The statistics employed for data analysis were frequency, percentage, mean, standard deviation, t-test, F-test, One-Way ANOVA, and Scheffé's method for multiple-comparison test. The results revealed that: (1) the level of organizational commitment of employees at Suan Dusit University was overall at a high level. Considering each aspect, the employees mostly engaged in the willingness to work for the organization success, followed by the confidence in organization goals and the desire to maintain the membership of the organization; (2) employees with different genders and educational backgrounds had no significant organizational commitment. Employees who had differed ages, positions, incomes, marital statuses, and employment lengths had different organizational engagement at a statistic significant level of .05; and (3) the proposal to promote the organizational commitment included providing activities to promote unity among employees at Suan Dusit University and trainings to develop knowledge and skills related to employees’ jobs.en_US
Appears in Collections:Manage-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
158516.pdfเอกสารฉบับเต็ม10.69 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons