Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1196
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorทัศนา หาญพล, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorพวา พันธุ์เมฆา, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorวิลัย สตงคุณห์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorอรทัย พรหมเพศ, 2519--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2022-08-28T06:14:46Z-
dc.date.available2022-08-28T06:14:46Z-
dc.date.issued2555-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1196-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ศศ.ม. (สารสนเทศศาสตร์))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2555th_TH
dc.description.abstractการวิจัยนี้เป็นการวิจัยเชิงสำรวจ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) การใช้และปัญหาการใช้ อินเทอร์เน็ตของนักศึกษาระดับปริญญาตรี คณะบริหารธุรกิจสถาบันอุดมศึกษาเอกชนในเขตภาคใต้ และ (2) เปรียบเทียบการใช้และ ปัญหาการใช้อินเทอร์เน็ตของนักศึกษาจำแนกตามตัวแปรเพศ สถาบันการศึกษา และชั้นปีการศึกษากลุ่มตัวอย่างคือนักศึกษาระดับปริญญาตรี คณะบริหารธุรกิจ สถาบันอุดมศึกษาเอกชนในเขตภาคใต้ 3 สถาบันที่ศึกษาอยู่ในภาคปกติ ภาคเรียนที่ 1 ปี การศึกษา 2554 จ านวน 480 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็น แบบสอบถาม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และทดสอบ สมมติฐานการวิจัยโดยใช้สถิติ การทดสอบค่าทีการวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว และเปรียบเทียบ รายคู่ด้วยสถิตินิวแมน-คูลส์ ผลการวิจัยพบว่า (1) นักศึกษาส่วนใหญ่มีเครื่องคอมพิวเตอร์ที่เชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตใช้ ส่วนตัว มีอีเมล์แอดเดรส มีประสบการณ์ในการใช้อินเทอร์เน็ต 1-3 ปี ใช้อินเทอร์เน็ตทุกวัน และใช้ มากกว่า 2 ชัวโมง ส่วนใหญ่เป็นสมาชิกสื่อสังคมออนไลน์เฟซบุ๊ก นักศึกษาใช้บริการบนอินเทอร์เน็ตโดย รวมอยู่ในระดับมาก บริการที่เข้าใช้สูงสุด อยู่ในระดับมาก คือ บริการเวิล์ดไวด์เว็บ บริการถ่ายโอน แฟ้มข้อมูล บริการไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ และบริการสนทนาออนไลน์ ปัญหาการใช้อินเทอร์เน็ตของ นักศึกษาโดยรวมอยู่ในระดับปานกลาง โดยที่นักศึกษาประสบปัญหาสูงสุด 3 ลำดับคือ ภาษาอังกฤษเป็น อุปสรรคในการติดต่อสื่อสารและการแสวงหาข้อมูล ไวรัสคอมพิวเตอร์จากการดาวน์โหลดแฟ้มข้อมูล และ ระบบอินเทอร์ เน็ตช้า (2) เมื่อเปรียบเทียบการใช้บริการบนอินเทอร์เน็ตตามตัวแปร เพศ สถาบันการศึกษา และชั้นปี พบความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ.05ในทุกตัวแปร เปรียบเทียบวัตถุประสงค์ในการใช้บริการบนอินเทอร์เน็ต ตามตัวแปร เพศ สถาบันการศึกษาและชั้นปี พบความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ.05 ในทุกตัวแปรและเปรียบเทียบปัญหาการใช้ อินเทอร์เน็ต พบความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ.05 ในตัวแปรเพศ และสถาบันการศึกษาth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2012.318-
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศิลปศาสตร์ --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาสารสนเทศศาสตร์ --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectอินเทอร์เน็ต--การศึกษาการใช้th_TH
dc.titleการใช้อินเทอร์เน็ตของนักศึกษาระดับปริญญาตรีคณะบริหารธุรกิจสถาบันอุดมศึกษาเอกชนในเขตภาคใต้th_TH
dc.title.alternativeInternet use by undergraduate students in the faculties of business administration of private higher education institutions in the Southern regionth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.identifier.DOI10.14457/STOU.the.2012.318-
dc.degree.nameศิลปศาตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศิลปศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThis study was a survey research. The objectives were to investigate (1) the use, the purpose and problems of using the Internet for undergraduate students in the faculties of business administration from private higher education institutions in southern region and (2) to compare the use, the purpose and problems of using the Internet for the students classified by gender, the academic institutions and the academic year. The sample consisted of 480 undergraduate students from the faculties of business administration at private higher education institutions in southern region. In particular the institutions that had studied in the regular semester; the first semester of the academic year 2011. The research tool used in this study was a questionnaire. The statistics used for data analysis were percentage, mean, and statistical hypothesis testing, t-test, One Way Analysis of Variance (ANOVA) and Newman-Keuls paired-wise comparison The results showed that (1) most students had their own computer linking to the Internet, had an e-mail address, had experience in using the Internet for 1-3 years, used the Internet every day and used for more than 2 hours. Most of the students were members of the online social network Facebook. Students’ overall use of the Internet was at a high level, the services used at high level were the World Wide Web, File Transfer, Electronic Mail, and Online Chat. The problems of the Internet overall use by students was at a moderate level. The 3 highest problems that the students faced were English language was the barrier for communication and for searching the information, computer virus from file transfer, the Internet was too slow. (2) Comparing the Internet use classified by gender, the academic institutions, and the academic year, it was found that there was a statistically significant difference at the level of 0.5 for all variables. Comparing the purpose of Internet use classified by gender, the academic institutions and the academic year, it was found that there was a statistically significant difference at the level of 0.5 for all variables. Comparing the problems of Internet use, it was found that there was a statistically significant difference at the level of 0.5 for gender and the institutionsen_US
Appears in Collections:Arts-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
fulltext.pdfเอกสารฉบับเต็ม17.73 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons