Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12028
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสันทัด ทองรินทร์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorพัชราภรณ์ กล้าณรงค์-
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิเทศศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2024-05-24T03:39:00Z-
dc.date.available2024-05-24T03:39:00Z-
dc.date.issued2558-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12028-
dc.description.abstractการศึกษาค้นคว้าอิสระเรื่อง การรับรู้และปัจจัยความนิยมใช้ฟิล์มถ่ายภาพของผู้ถ่ายภาพ ด้วยกล้องฟิล์มในเขตกรุงเทพมหานคร มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) การรับรู้การถ่ายภาพด้วยกล้องฟิล์ม ของผู้ถ่ายภาพในเขตกรุงเทพมหานคร 2) ปัจจัยความนิยมของการถ่ายภาพด้วยกล้องฟิล์มของผู้ถ่ายภาพ ในเขตกรุงเทพมหานคร 3) ความสัมพันธ์ระหว่างลักษณะทางประชากรของผู้ถ่ายภาพด้วยกล้องฟิล์ม ในเขตกรุงเทพมหานครกับการรับรู้การถ่ายภาพด้วยกล้องฟิล์ม การศึกษาครั้งนี้ เป็นการวิจัยเชิงสำรวจ กลุ่มตัวอย่าง คือ กลุ่มผู้นิยมถ่ายภาพด้วยกล้องฟิล์ม ที่เป็นสมาชิกในกลุ่ม facebook.com/groups/lovefilmcamera จำนวน 392 คน สุ่มตัวอย่างแบบอาสาสมัคร โดยใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูลใช้สถิติ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการหาค่าสัมประสิทธิสหสัมพันธ์ ผลการศึกษาพบว่า 1) ผู้ถ่ายภาพด้วยกล้องฟิล์มส่วนใหญ่ถ่ายภาพเป็นระยะเวลา มากกว่า 5 ปีนิยมถ่ายภาพคน/สัตว์และได้รับรู้ข้อมูลการถ่ายภาพจากสื่ออินเทอร์เน็ต 2) ปัจจัยความนิยม ในการถ่ายภาพด้วยกล้องฟิล์ม ได้แก่ อุปกรณ์ถ่ายภาพ การล้างอัดภาพเป็นศิลปะที่มีความประณีต การถ่ายภาพต้องใช้ความละเอียดอ่อน ภาพถ่ายมีคุณค่าต่อจิตใจและมีความคงทน 3) เพศ อายุและ รายได้ของผู้ถ่ายภาพด้วยกล้องฟิล์มมีความสัมพันธ์กับการรับรู้การถ่ายภาพด้วยกล้องฟิล์มในด้าน ภาพถ่ายบ่งบอกถึงอารมณ์ ความรู้สึก ส่วนรายได้ การศึกษาและอาชีพมีความสัมพันธ์กับการรับรู้ การถ่ายภาพด้วยกล้องฟิล์มในด้านภาพถ่ายที่ได้มีความละเอียดสูงth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิเทศศาสตร์ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectฟิล์มถ่ายภาพth_TH
dc.subjectกล้องถ่ายรูปth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--นิเทศศาสตร์th_TH
dc.titleการรับรู้และปัจจัยความนิยมใช้ฟิล์มถ่ายภาพของผู้ถ่ายภาพด้วยกล้องฟิล์มในเขตกรุงเทพมหานครth_TH
dc.title.alternativePerception and preference factors for film of photographers using film cameras in Bangkok Metropolitan Areath_TH
dc.typeOtherth_TH
dc.degree.nameนิเทศศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชานิเทศศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research were to study 1) the awareness and perceptions of film photography of film photography enthusiasts in Bangkok; 2) factors that made them like film photography; and 3) the relationships between demographic factors and awareness of film photography. This was a survey research. The sample population was 392 film photography enthusiasts who were members of the facebook group facebook.com/groups/lovefilmcamera, chosen through voluntary sampling. Data were collected by questionnaire. Data were statistically analyzed using percentage, mean, standard deviation and correlated coefficients. The results showed that 1) The majority of samples had enjoyed photography for more than 5 years. For their subjects, most liked to take photographs of people and animals. They said they learned most information about photography from the Internet. 2) The factors of preference for film photography were the equipment, the detail that goes into the painstaking art of developing film and making prints, the need for delicacy in taking film photographs, the emotional value of the prints, and the durability of the prints. 3) The demographic factors of sex, age and income were related to awareness of film photography in the category of "photographs express emotions and feelings." The factors of income, educational level and occupation were related to awareness of film photography in the category of "film photographs have high resolutionen_US
Appears in Collections:Comm-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
152454.pdfเอกสารฉบับเต็ม9.75 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons