กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12059
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC | ค่า | ภาษา |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | จำเนียร ราชแพทยาคม, อาจารย์ที่ปรึกษา | th_TH |
dc.contributor.author | ดวงฤทัย ศรีมุกข์, 2528- | - |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ | th_TH |
dc.date.accessioned | 2024-05-28T02:44:21Z | - |
dc.date.available | 2024-05-28T02:44:21Z | - |
dc.date.issued | 2564 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12059 | - |
dc.description.abstract | การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาความคิดเห็นเกี่ยวกับระดับสมรรถนะของบุคลากร (2) ศึกษาความคิดเห็นเกี่ยวกับผลสัมฤทธิ์ในการปฏิบัติงานของบุคลากร (3) ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างสมรรถนะและผลสัมฤทธิ์ในการปฏิบัติงานของบุคลากร และ (4) เสนอแนะแนวทางการพัฒนาสมรรถนะของบุคลากรเพื่อให้เกิดผลสัมฤทธิ์ในการปฏิบัติงานตามแนวทางท้องถิ่น 4.0 การศึกษานี้เป็นการวิจัยเชิงปริมาณ ประชากรที่ใช้ศึกษาคือ ข้าราชการสังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นอำเภอปากพนัง จังหวัดนครศรีธรรมราช รวม 17 แห่ง จำนวน 333 คน กำหนดขนาดกลุ่มตัวอย่างจากสูตรของทาโร ยามาเน ได้จำนวน 182 คน สุ่มตัวอย่างแบบชั้นภูมิแบ่งสัดส่วนและแบบบังเอิญ เครื่องมือที่ใช้คือแบบสอบถาม การวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนา ประกอบด้วยค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การวิเคราะห์ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน และการวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว ผลการศึกษาพบว่า (1) ระดับสมรรถนะของบุคลากรโดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณารายด้านพบว่า สมรรถนะทักษะด้านภาวะผู้นาอยู่ในระดับสูงสุด รองลงมาคือ ทักษะเชิงยุทธศาสตร์ (2) ระดับผลสัมฤทธิ์ในการปฏิบัติงานของบุคลากรโดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก (3) ระดับสมรรถนะของบุคลากรมีความสัมพันธ์ในทิศทางเดียวกันในระดับปานกลางกับผลสัมฤทธิ์ในการปฏิบัติงานอย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ 0.05 และ (4) แนวทางการพัฒนาสมรรถนะของบุคลากร ได้แก่ บุคลากรควรได้รับการพัฒนาสมรรถนะในด้านทักษะดิจิทัลมากขึ้น และควรสนับสนุนส่งเสริมความรู้ในมิติด้านประสิทธิภาพการปฏิบัติราชการเพิ่มมากขึ้น | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | - |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ--การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารรัฐกิจ--การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.subject | องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น--ไทย--นครศรีธรรมราช--ข้าราชการและพนักงาน | th_TH |
dc.subject | การศึกษาอิสระ--บริหารรัฐกิจ | th_TH |
dc.title | การพัฒนาสมรรถนะของบุคลากรองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในอำเภอปากพนัง จังหวัดนครศรีธรรมราช | th_TH |
dc.title.alternative | Competency development of the personnel of local administrative organizations at Pak Phanang District in Nakhon Si Thammarat Province | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาวิทยาการจัดการ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The objectives of this study were (1) to study opinions on personnel competency level (2) to study opinions on the achievement of work performance of personnel (3) to study the relationship between competency and work performance of personnel; and (4) to recommend competency development guidelines to achieve work performance according to local guidelines 4.0. This study was a quantitative research. The population was 333 officials, from 17 local government administrative organizations at Pak Phanang District, Nakhon Si Thammarat Province. The sample size was calculated by using Taro Yamane formula and obtained 182 samples with stratified random and accidental sampling methods. The research tool was a questionnaire. The data analysis employed descriptive statistics that consisted of frequency, percentage, mean, standard deviation, Pearson's correlation coefficient analysis and one-way analysis of variance. The results of the study were found that (1) the overall image of personnel competency level was at high level. Considering each aspect, it showed that leadership skills was at the highest mean followed by strategic skills respectively (2) The overall image of achievement of work performance was at high level (3) the level of competency and work performance of personnel had correlated positively at moderate level at statistically significant at the 0.05 level; and (4) the competency development guidelines for personnel were there should develop digital skills as well as support and promote service skill for higher effectiveness | en_US |
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล: | Manage-Independent study |
แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม | รายละเอียด | ขนาด | รูปแบบ | |
---|---|---|---|---|
Fulltext.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 17.74 MB | Adobe PDF | ดู/เปิด |
รายการนี้ได้รับอนุญาตภายใต้ Creative Commons License