Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12128
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ภัสวลี นิติเกษตรสุนทร | th_TH |
dc.contributor.author | สุภาพร รัตนวิจิตร | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิเทศศาสตร์ | th_TH |
dc.date.accessioned | 2024-06-04T06:52:40Z | - |
dc.date.available | 2024-06-04T06:52:40Z | - |
dc.date.issued | 2556 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12128 | en_US |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) ลักษณะของการสื่อสารภายในองค์กร เกี่ยวกับระบบบริหารคุณภาพทั่วทั้งองค์กร (TQM) 2) รูปแบบการสื่อสารภายในองค์กรเกี่ยวกับระบบบริหารคุณภาพทั่วทั้งองค์กร (TQM) 3) อุปสรรคการสื่อสารภายในองค์กรเกี่ยวกับระบบบริหารคุณภาพทั่วทั้งองค์กร (TQM) การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ ผู้ให้ข้อมูลหลัก คือ พนักงานกลุ่มธุรกิจสมาพันธ์ผู้รับผิดชอบหลักเกี่ยวกับระบบบริหารงานคุณภาพทั่วทั้งองค์กร (TQM) จำนวน 11 คน โดยการ เลือกแบบเจาะจง เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แบบสัมภาษณ์เชิงลึก วิเคราะห์ข้อมูลโดยการวิเคราะห์เนื้อหาผลการวิจัยพบว่า 1) การสื่อสารระบบบริหารคุณภาพทั่วทั้งองค์กร (TQM) ของกลุ่มธุรกิจสมาพันธ์ เป็นการสื่อสารที่ส่งเสริมให้พนักงานมีส่วนร่วม การสื่อสารเพื่อการจัดการเรียนรู้และการสื่อสารเพื่อเสริมสร้างกระบวนการเรียนรู้ โดยมุ่งเน้นในการนำระบบบริหารคุณภาพทั่วทั้งองค์กรมาเป็นแนวทางในการดำเนินงาน เพื่อสร้างความพึงพอใจให้กับลูกค้า 2) รูปแบบการสื่อสารภายในองค์กร ประกอบด้วย รูปแบบการสื่อสารแบบบนลงล่าง การสื่อสารแบบล่างสู่บน การสื่อสารแนวนอน การสื่อสารแนวทแยงมุม และการสื่อสารแบบมีส่วนร่วม โดยรูปแบบการสื่อสาร แบบเป็นทางการจากบนสู่ล่างมีประสิทธิภาพมากที่สุด 3) อุปสรรคการสื่อสารภายในองค์กรเกี่ยวกับระบบบริหารคุณภาพทั่วทั้งองค์กร (TQM) ได้แก่ พนักงานขาดทักษะในการสื่อสารตลอดจนความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับระบบบริหารคุณภาพทั่วทั้งองค์กรและความล่าช้าในการนำระบบบริหารคุณภาพทั่วทั้งองค์กรไปปฏิบัติเนื่องจากพนักงานมีภาระหน้าที่งานประจำมาก | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิเทศศาสตร์--การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.subject | การสื่อสารในองค์การ. | th_TH |
dc.title | การสื่อสารระบบบริหารงานคุณภาพทั่วทั้งองค์กรของกลุ่มธุรกิจสมาพันธ์ | th_TH |
dc.title.alternative | Communication of total quality management system in Samaphan Business Group | en_US |
dc.degree.name | นิเทศศาสตรมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชานิเทศศาสตร์ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The objectives of this research were to study 1) the characteristics of the internal communications used by Samaphan Business Group for its Total Quality Management (TQM) system; 2) the types of internal communications used for the TQM system; and 3) difficulties with internal communications for the TQM system.This was a qualitative research. The key informants were the 11 employees of Samaphan Business Group who were in charge of the TQM system, chosen through purposive sampling. Data were collected using an in-depth interview form and analyzed using content analysis.The results showed that 1) internal communications used by Samaphan Business Group for its TQM system were communications that promoted employee participation, communications for knowledge management, and communications to reinforce the learning process; emphasizing using TQM as the guideline for operations to create greater customer satisfaction. 2) The types of internal communication were top-to-bottom, bottom-to-top, horizontal, diagonal, and participatory. Formal communications from top down were considered the most efficient. 3) Difficulties encountered were that employees lacked communication skills, employees lacked knowledge and understanding of TQM, and employees had many responsibilities with their routine work and so were slow in implementing TQM. | en_US |
Appears in Collections: | Comm-Independent study |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
146917.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 13.64 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License