Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12144
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorธีรารักษ์ โพธิสุวรรณ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorอิงลดา ปิยะกาญจน์-
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิเทศศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2024-06-05T02:24:57Z-
dc.date.available2024-06-05T02:24:57Z-
dc.date.issued2557-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12144-
dc.description.abstractการศึกษาค้นคว้าอิสระนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) การเปิดรับสื่อเกี่ยวกับเกษตร อินทรีย์ของเกษตรกร ตำบลทุ่ง อำเภอไชยา จังหวัดสุราษฎร์ธานี 2) ความต้องการด้านเนื้อหา เกี่ยวกับเกษตรอินทรีย์ของเกษตรกร ตำบลทุ่ง อำเภอไชยา จังหวัดสุราษฎร์ธานี และ 3) อุปสรรคใน การเปิดรับสื่อเกี่ยวกับเกษตรอินทรีย์ของเกษตรกร ตำบลทุ่ง อำเภอไชยา จังหวัดสุราษฎร์ธานี การศึกษานี้เป็นการวิจัยเชิงปริมาณ กลุ่มตัวอย่างคือ เกษตรกรที่ทำเกษตรอินทรีย์ ตำบลทุ่ง อำเภอไชยา จังหวัดสุราษฎร์ธานี จำนวน 400 คน โดยเลือกตัวอย่างแบบเจาะจง เครื่องมือ ในการเก็บข้อมูล คือ แบบสอบถาม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ผลการวิจัยพบว่า 1) กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่เป็นเพศชาย มีอายุระหว่าง 41-50 ปี มี การศึกษาระดับมัธยมปลาย/ปวช. รายได้เฉลี่ยต่อเดือนมากกว่า 15,000 บาท ระยะเวลาในการทำ เกษตรอินทรีย์ระหว่าง 6-10 ปี 2) กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่เปิดรับสื่อเกี่ยวกับเกษตรอินทรีย์ทาง วิทยุกระจายเสียงมากที่สุด รองลงมาคือ โทรทัศน์ และสื่อบุคคล ตามลำดับ ส่วนใหญ่ฟังรายการ วิทยุทุกวันขณะเดินทางในช่วงเช้า และชมรายการโทรทัศน์เกี่ยวกับเกษตรอินทรีย์สัปดาห์ละ 3-4 วันในช่วงเช้าและจากสื่อบุคคลในช่วงเย็น ณ ที่ประชุม ประจำทุกเดือน 3) กลุ่มตัวอย่างมีความ ต้องการด้านเนื้อหาเกี่ยวกับการทำเกษตรอินทรีย์ คือ ด้านผลกำไรของการทำเกษตรอินทรีย์มาก ที่สุด รองลงมาคือ ตลาดสำหรับการผลิต งบประมาณ ชนิดของพืช ระบบน้ำที่ใช้ การใช้ปุ๋ย สถานการณ์ในการทำเกษตรอินทรีย์ วิธีการทำเกษตรอินทรีย์ ที่ปรึกษาด้านเกษตรอินทรีย์ ดินที่ เหมาะสมในการทำเกษตรอินทรีย์ ตามลำดับ 4) อุปสรรคในการเปิดรับสื่อ คือ มีเวลาจำกัดในการ ฟังและชมรายการเกี่ยวกับเกษตรอินทรีย์ในช่วงเช้าเนื่องจากต้องเดินทางไปทำงานth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชานิเทศศาสตร์ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิเทศศาสตร์ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectเกษตรอินทรีย์--ไทย--สุราษฏร์ธานีth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--นิเทศศาสตร์th_TH
dc.titleการเปิดรับสื่อเกี่ยวกับการทำเกษตรอินทรีย์ของเกษตรกรตำบลทุ่ง อำเภอไชยา จังหวัดสุราษฏร์ธานีth_TH
dc.title.alternativeMedia exposure of agriculturists regarding organic agriculture in Thung Sub-district, Chaiya District, Surat Thani iProvinceth_TH
dc.typeOtherth_TH
dc.degree.nameนิเทศศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชานิเทศศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research were to study 1) the level of exposure to media about organic farming of farmers in Thung Sub-district, Chaiya District, Surat Thani Province; 2) their demand for content about organic farming; and 3) obstacles to their access to media about organic farming. This was a quantitative research based on a survey of 400 sample farmers who were engaged in organic farming in Thung Sub-district, Chaiya District, Surat Thani Province. The sample population was chosen through purposive sampling. The data collection tool was a questionnaire. Data were statistically analyzed using frequency and percentage. The results showed that 1) the majority of samples was male, in the 41-50 age range, and educated to upper secondary or vocational school level. They earned an average income of over 15,000 baht a month and had done organic farming for 6- 10 years. 2) The majority said they were exposed to media about organic farming through the radio most often, followed by TV and personal media. Most of them listened to a radio program about organic farming every morning while travelling to work and watched a TV program about organic farming 3-4 days a week, also in the morning. They were exposed to personal media about organic farming at a monthly meeting held in the evening. 3) The topic that they most desired to learn more about was profits from organic farming, followed by markets for their products, budgeting, plant varieties, irrigation systems, use of fertilizer, the status of organic farming, organic farming methods, organic farming consultants, and suitable soil types, in that order. 4) The major obstacle the farmers reported in accessing media about organic farming was that they had only a limited amount of time during the morning to listen to or watch programsen_US
Appears in Collections:Comm-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
148711.pdfเอกสารฉบับเต็ม9.35 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons