Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1216
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสมพร พุทธาพิทักษ์ผล, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorสรัญยา ฬาพานิชย์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorมณีรัตน์ คล้ายทอง, 2525--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2022-08-29T02:43:56Z-
dc.date.available2022-08-29T02:43:56Z-
dc.date.issued2556-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1216-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ศศ.ม. (สารสนเทศศาสตร์))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2556th_TH
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงสำรวจที่ใช้แบบสอบถาม โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาสภาพ การรับรู้ประโยชน์ที่มีต่อระบบการจัดการสารสนเทศโรงพยาบาลของเจ้าหน้าที่โรงพยาบาลกองบิน (2) เปรียบเทียบการรับรู้ประโยชน์ที่มีต่อระบบการจัดการสารสนเทศโรงพยาบาลจำแนกตามระดับ การศึกษาและระยะเวลาการทำงานและ (3) ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างประสบการณ์ การคล้อยตาม กลุ่มอ้างอิง ภาพลักษณ์ ความเกี่ยวข้องกับงาน คุณภาพของผลลัพธ์ ความสามารถในการพิสูจน์ให้ เห็นผล กับการรับรู้ประโยชน์ระบบการจัดการสารสนเทศโรงพยาบาลการวิจัยครั้งนี้ศึกษาจากประชากรจำนวน 212 คนโดยใช้แบบจำลองการยอมรับเทคโนโลยี 2 ของเวนกาเทชและเดวิสเป็นกรอบแนวคิดในการวิจัย สถิติที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วยสถิติเชิงพรรณนา การทดสอบค่าที การวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว การเปรียบเทียบรายคู่และการทดสอบไคสแควร์ผลการวิจัยพบว่า (1) เจ้าหน้าที่ส่วนใหญ่มีการศึกษาต่ำกว่าระดับปริญญาตรีและปฏิบัติหน้าที่มีระยะเวลา 2-7 ปี มีการรับรู้ประโยชน์ระบบการจัดการสารสนเทศโรงพยาบาลโดยรวมอยู่ใน ระดับมาก (Χ = 4.15) (2) เจ้าหน้าที่ที่มีระดับการศึกษาต่างกันมีการรับรู้ประโยชน์ระบบการจัดการ สารสนเทศไม่แตกต่างกัน เจ้าหน้าที่ที่มีระยะเวลาการทำงานต่างกันมีการรับรู้ประโยชน์ระบบการ จัดการสารสนเทศโรงพยาบาลกองบินต่างกันอย่างมีนัยสำคัญที่ .05 (3) ความสัมพันธ์ระหว่างการ คล้อยตามกลุ่มอ้างอิง ภาพลักษณ์ ความเกี่ยวข้องกับงาน คุณภาพของผลลัพธ์ ความสามารถในการพิสูจน์ ให้เห็นผล กับการรับรู้ประโยชน์ระบบการจัดการสารสนเทศ มีความสัมพันธ์อย่างมีนัยสำคัญที่ .05 ยกเว้นประสบการณ์th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2013.396-
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศิลปศาสตร์ --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาสารสนเทศศาสตร์ --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectโรงพยาบาลกองบิน--เจ้าหน้าที่th_TH
dc.subjectระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการth_TH
dc.titleการรับรู้ประโยชน์ที่มีต่อระบบการจัดการสารสนเทศโรงพยาบาลของเจ้าหน้าที่โรงพยาบาลกองบินth_TH
dc.title.alternativeUsers' perceived usefulness of the hospital information system at the Air Force Base Hospitalsth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.identifier.DOI10.14457/STOU.the.2013.396-
dc.degree.nameศิลปศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศิลปศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThis questionnaire survey research aims (1) to study perceptions regarding the usefulness of the Air Force Base Hospital Information System; (2) to compare perceptions of usefulness with level of education and years of work; and (3) to correlate experience, subjective norms, image, job relevance, output quality, and result demonstrability with the perceived usefulness of the hospital information system. The population consisted of 212 staff members of the Air Force Base Hospitals. Venkatesh and Davis’s Technology Acceptance Model 2 provided a research framework. The statistics used for data analysis were descriptive statistics, t-test and analysis of variance, Scheffe’s and Tamhane’s pairwise comparison methods as well as chisquare test. The result showed that (1) the majority of staff members did not have bachelor’s degrees and had worked for 2-7 years, and their perceptions of system usefulness were at a high level (Χ = 4.15); (2) staff with different levels of education did not perceive the system usefulness significantly differently, while those with different length of work experience did show significant differences in perception (p < .05); and (3) the correlation among subjective norms, image, job relevance, output quality, result demonstrability and perceived usefulness of the hospital information system was found to be statistically significant, except for experience that was found to be statistically insignificanten_US
Appears in Collections:Arts-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
fulltext (4).pdfเอกสารฉบับเต็ม11.29 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons