Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12178
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorแววบุญ แย้มแสงสังข์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorศุภกร เชื้ออ่ำ-
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีth_TH
dc.date.accessioned2024-06-07T08:15:50Z-
dc.date.available2024-06-07T08:15:50Z-
dc.date.issued2560-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12178-
dc.description.abstractการศึกษาค้นคว้าอิสระนี้ มีวัตถุประสงค์ (1) เพื่อศึกษาสมบัติการขึ้นรูปของเชื้อเพลิงอัดแท่งที่ผสมระหว่างกากตะกอนน้ำเสียจากอุตสาหกรรมพลาสติกกับซังข้าวโพดเป็นเชื้อเพลิงอัดแท่ง (2) เพื่อหาสัดส่วนที่เหมาะสมระหว่างซังข้าวโพดถ่านซังข้าวโพดและกากตะกอนจากอุตสาหกรรมพลาสติกในการผลิตเป็นเชื้อเพลิงอัดแท่ง (3) เพื่อศึกษาต้นทุนการผลิตต่อหน่วยในการผลิตเชื้อเพลิงอัดแท่งจากกากตะกอนน้ำเสียจากอุตสาหกรรมพลาสติกกับซังข้าวโพด (4) เพื่อศึกษาความคิดเห็นของผู้ใช้งานต่อสมรรถนะของเชื้อเพลิงอัดแท่งจากกากตะกอนน้ำเสียผสมซังข้าวโพด ผลการวิจัยพบว่า (1) เชื้อเพลิงอัดแท่งแบบไม่เติมผงถ่านและแบบเติมผงถ่านร้อยละ10 ส่วนผสมระหว่างกากตะกอนน้ำเสียกับซังข้าวโพดที่อัตราส่วน 9:1, 8:2, 7:3, 6:4 และ 5:5 สามารถอัดเป็นแท่งได้ยกเว้นอัตราส่วนที่ 4:6 ของแบบเติมผงถ่าน 10% สามารถอัดเป็นแท่งได้เท่านั้น (2) การทดสอบสมบัติของเชื้อเพลิงอัดแท่งให้ค่าความร้อนสูงสุดที่ 3,770 กิโลแคลอรีต่อกิโลกรัมในอัตราส่วนที่ 4:6 ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางที่ 25 มิลลิเมตรต่อความยาว 70 มิลลิเมตร (3) เมื่อเพิ่มอัตราส่วนของซังข้าวโพดบดต้นทุนต่อหน่วยการผลิตจะเพิ่มขึ้นตามโดยเพิ่มจากเดิมเฉลี่ยที่ 9.39 บาท เพิ่มขึ้นเป็น 9.40 บาทต่อกิโลกรัม (4) ผลจากการประเมินความคิดเห็น และข้อเสนอแนะของผู้ใช้งานด้านผลิตภัณฑ์พบว่าผลิตภัณฑ์ให้ความร้อนได้ดีอยู่ในระดับมากที่สุด คิดเป็นค่าเฉลี่ย4.80 และด้านราคาเหมาะสมกับรูปลักษณ์ของผลิตภัณฑ์ในระดับมากคิดเป็นค่าเฉลี่ย 4.20th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/-
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectเชื้อเพลิงอัดแท่งth_TH
dc.subjectถ่านซังข้าวโพดth_TH
dc.subjectกากตะกอนน้ำเสีย--การใช้ประโยชน์th_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--เทคโนโลยีอุตสาหกรรมth_TH
dc.titleสมบัติของเชื้อเพลิงอัดแท่งจากซังข้าวโพดและกากตะกอนน้ำเสียจากอุตสาหกรรมพลาสติกth_TH
dc.title.alternativeProperties of fuel briquette from corn cob and plastic industry sludgeen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this independent study were: (1) to study the forming properties of fuel briquette mixed between the sludge from the plastics industry and the corn cob. (2) to determine the optimal ratio between the corn cob and sludge from the plastics industry for the production of fuel briquette. (3) to study the unit cost of production of fuel briquette. (4) to study the opinions of users on the performance of fuel briquettes sludge from the plastics industry. The research methods: (1) Test physical properties in terms of forming fuel briquette without and with 10% charcoal powder. (2) Test fuel properties by measuring heating value of solidified charcoal-fired fuels (3) Study of production unit cost of each fuel ratio (4) Collecting and analyzing data of the users opinions on the product satisfaction and the fuel briquettes price. The results of this research were as follows: (1) Fuel briquette without and with 10% charcoal powder mixed between the sludge and the corn cob can form in good shape in the 5 ratio of corn cob and sludge at 9:1, 8:2, 7:3, 6:4 and 5:5 except the ratio of 4:6 presenting a good shape only in the fuel briquette 10% charcoal powder. (2) Testing the properties of the fuel briquettes the highest thermal efficiency was 3,770 kilocalories per kilogram. The ratio of the fuel briquette was 4:6, 25 mm in diameter and 70 mm in length. (3) When increasing the amount of corn cobs the unit cost of production increased from 9.39 Baht/kg to 9.40 Baht/kg on average. (4) The results of the evaluation of user’s opinions and suggestions on the products were at the highest level with the average of 4.80 the price was reasonable with the average of 4.20en_US
Appears in Collections:Science Tech - Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
157078.pdfเอกสารฉบับเต็ม14.28 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons