Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12182
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | วิกรณ์ รักษ์ปวงชน | th_TH |
dc.contributor.author | กมนทัต ราชบรรเทา | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิติศาสตร์ | th_TH |
dc.date.accessioned | 2024-06-10T02:24:29Z | - |
dc.date.available | 2024-06-10T02:24:29Z | - |
dc.date.issued | 2560 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12182 | en_US |
dc.description.abstract | การศึกษาค้นคว้าอิสระนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ ศึกษาความหมาย ความเป็นมา และการถือกรรมสิทธิ์ในที่ดินและห้องชุดของคนต่างด้าวหรือนิติบุคคลที่ถือว่าเป็นคนต่างด้าวของประเทศไทยและต่างประเทศ ศึกษาถึงสภาพปัญหาหรือข้อขัดข้องของกฎหมายอาคารชุดของประเทศไทย เปรียบเทียบกับกฎหมายอาคารชุดของประเทศกัมพูชา ประเทศฟิลิปปินส์ และประเทศเวียดนาม และวิเคราะห์เปรียบเทียบถึงบทบัญญัติของ กฎหมาย ที่เป็นอุปสรรคและก่อให้เกิดปัญหาหรือข้อขัดข้องในการถือกรรมสิทธิ์ในห้องชุดของคนต่างด้าวหรือนิติบุคคลซึ่งกฎหมายถือว่าเป็นคนต่างด้าวในอาคารชุดของประเทศไทยกับกฎหมายอาคารชุดของประเทศกัมพูชา ประเทศฟิลิปปินส์ และประเทศเวียดนาม 4.เสนอแนวทางที่เหมาะสมในการแก้ไขเพิ่มเติมบทบัญญัติกฎหมายในเรื่องที่เกี่ยวข้องกับการถือกรรมสิทธิ์ในห้องชุดของคนต่างด้าวหรือนิติบุคคลซึ่งกฎหมายถือว่าเป็นคนต่างด้าวตามพระราชบัญญัติอาคารชุด พ.ศ. 2522 การศึกษาค้นคว้าอิสระนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ โดยวิธีการวิจัยเอกสารจากการศึกษาค้นคว้าตาม พระราชบัญญัติอาคารชุด พ.ศ.2522 ประมวลกฎหมาย พระราชบัญญัติ กฎระเบียบและข้อบังคับ บทความทางวิชาการและคำพิพากษาฎีกา ตลอดจนเก็บรวบรวมข้อมูลจากเอกสารทางกฎหมาย หนังสือเวียน หนังสือสั่ง การประกาศของหน่วยงานราชการที่เกี่ยวข้อง รวมทั้งกฎหมายอาคารชุดของประเทศกัมพูชา ประเทศฟิลิปปินส์ และประเทศเวียดนาม ผลการศึกษาพบว่า พระราชบัญญัติอาคารชุด พ.ศ.2522 ได้ประกาศใช้บังคับมานาน แม้ว่าจะได้แก้ไขปรับปรุงมา 3 ครั้งแล้วก็ตาม แต่ก็ยังพบข้อบกพร่องอยู่หลายประการ จึงสมควรแก้ไขเพิ่มเติม พระราชบัญญัติอาคารชุดฯ ในประเด็นปัญหาเรื่องรูปแบบหรือลักษณะของอาคารชุดที่คนต่างด้าวหรือนิติบุคคลซึ่งกฎหมายถือว่าเป็นคนต่างด้าวสามารถถือกรรมสิทธิ์ได้ ปัญหาเรื่องการถือกรรมสิทธิ์ในที่ดินที่เป็นทรัพย์ส่วนบุคคลในอาคารชุดของคนต่างด้าวหรือนิติบุคคลซึ่งกฎหมายถือว่าเป็นคนต่างด้าว ปัญหาเรื่องจำนวนสัดส่วนพื้นที่ห้องชุดที่คนต่างด้าวหรือนิติบุคคลซึ่งกฎหมายถือว่าเป็นคนต่างด้าวสามารถถือกรรมสิทธิ์ได้ ปัญหาเรื่องการ กำหนดจำนวนห้องชุดที่คนต่างด้าวหรือนิติบุคคลซึ่งกฎหมายถือว่าเป็นคนต่างด้าวสามารถถือกรรมสิทธิ์ได้ ปัญหาเรื่องการถือกรรมสิทธิ์ในห้องชุดแทนคนต่างด้าวหรือนิติบุคคลซึ่งกฎหมายถือว่าเป็นคนต่างด้าว ปัญหาเรื่องการแสดงหลักฐานทางการเงินในการขอจดทะเบียนได้มาซึ่งกรรมสิทธิ์ในห้องชุดของคนต่างด้าวหรือนิติบุคคลซึ่งกฎหมายถือว่าเป็นคนต่างด้าว | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิติศาสตร์--การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกกฎหมายธุรกิจ--การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.subject | ห้องชุด--ไทย. | th_TH |
dc.subject | กฎหมายแพ่งและพาณิชย์--ครอบครอง. | th_TH |
dc.subject | การศึกษาอิสระ--กฎหมายธุรกิจ | th_TH |
dc.title | การถือกรรมสิทธิ์ในห้องชุดของคนต่างด้าวหรือนิติบุคคลซึ่งกฎหมายถือว่าเป็นคนต่างด้าว | th_TH |
dc.title.alternative | Holding of condominiums by foreigners or juristic person deemed by law to be a foreigner | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | นิติศาสตรมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชานิติศาสตร์ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The objectives of this independent study, are to (1) study the meaning, evolution, and the holding of condominiums by foreigners or juristic person deemed by law to be a foreigner in Thailand. (2) study and compare the problem of the condominium laws in Thailand and Kingdom of Cambodia, Republic of Philippines and Socialist Republic of Vietnam.(3) analyze and compare the problem of the condominium laws in Thailand and Kingdom of Cambodia, Republic of Philippines and Socialist Republic of Vietnam. (4) issuethe guideline on problem solving mechanisms for improving the condominium laws in Thailand. This independent study is qualitative research conducted based on documentary research, including the Condominium Act B.E.2522 (1979), code of law, Act, regulation, academic journals, supreme court decisions, aims to laws concerned and the condominium laws of Kingdom of Cambodia, Republic of Philippines and Socialist Republic of Vietnam. The study indicated that the Condominium Act B.E.2522 (1979) has been in force for a considerably long period. Although it has been amended three times already but it also found flaws in many respects. Therefore, it appropriate to amend the Condominium Act on the issue of form or style of a condominium as foreigners or juristic person deemed by law to be a foreigner can to be ownership it, the problem of ownership of land as personal property in a condominium by foreigners or juristic person deemed by law to be a foreigner, the problem of proportion of areas or units where foreigners or juristic person deemed by law to be a foreigner to possess it, the problem of determining the number of units where foreigners or juristic person deemed by law to be a foreigner to possess it, the problem as Thai nationality to hold a condominium unit on behalf of foreigners or juristic person deemed by law to be a foreigner and the problem as foreigners or juristic person deemed by law to be a foreigner brings evidences of statement in the application for registration acquired for ownership. | en_US |
Appears in Collections: | Law-Independent study |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
158863.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 9.89 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License