Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1226
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | สุดจิต เจนนพกาญจน์ | th_TH |
dc.contributor.author | พระสมพงษ์ เมทา, 2525- | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษา | th_TH |
dc.date.accessioned | 2022-08-29T03:50:18Z | - |
dc.date.available | 2022-08-29T03:50:18Z | - |
dc.date.issued | 2556 | - |
dc.identifier.uri | http://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1226 | en_US |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (ศศ.ม. (ไทยคดีศึกษา))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2556 | th_TH |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) คติธรรมทางพระพุทธศาสนาจากต านานเมืองโบราณเวียงกาหลง (2) ประวัติความเป็นมาของเมืองโบราณเวียงกาหลง (3) คติความเชื่อและพิธีกรรมทางพระพุทธศาสนาของเมืองโบราณเวียงกาหลง วิธีการวิจัยเป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ ผู้ให้ข้อมูลสำคัญ ได้แก่ บุคคลทั่วไป จำนวน 2 คน ปราชญ์ชาวบ้าน จำนวน 3 คน ผู้นำชุมชน จำนวน 5 คน ผู้มาร่วมปฏิบัติธรรม จำนวน 10 คน ผู้ที่มาร่วมทำบุญจำนวน 5 คน นักวิชาการ จำนวน 5 คน รวมทั้งสิ้น จำนวน 30 คน เครื่องมือในการเก็บข้อมูลใช้แบบสัมภาษณ์แบบเจาะลึกและการวิเคราะห์ข้อมูล ใช้การวิเคราะห์เชิงพรรณนา ผลการวิจัยพบว่า (1) คติธรรมทางพระพุทธศาสนาจากตำนานเมืองโบราณเวียงกาหลงเป็น คติธรรมที่ อยูในหลักธรรมทางพระพุทธศาสนา ได้แก่ ความรัก ความกตัญญู ความเมตตา การเสียสละ การพลัดพรากจากสิ่งอันเป็นที่รัก โดยคติธรรมกับประเพณีมีประโยชน์ทั้งทางโลกและทางธรรม ซึ่งสามารถนำไปอบรมสั่งสอนและเผยแพร่ให้กับเด็ก เยาวชนและประชาชนได้นำไปประพฤติปฏิบัติ ให้เป็นคนดีของสังคม ทำให้ประเทศชาติมีความสงบสุข และมีสันติสุขอย่างแท้จริง โดยมีพระอาจารย์ธรรมสาธิต เจ้าอาวาสวัดพระยอดขุนพล เป็นผู้นำหลักธรรม (ความรัก ความกตัญญู ความเมตตา การเสียสละ) มาเผยแผ่ พัฒนา ฟื้นฟู ตั้งแต่ พ.ศ.2529 เป็นต้นมา (2) ประวัติความเป็นมาของเมืองโบราณเวียงกาหลง มีประวัติและตำนาน มากกว่าพันปี ซึ่งปรากฏอยู่ ในตำราธรรม ล้านนาเรื่องแม่พญากาเผือก และมีหลักฐานปรากฏให้เห็นได้อย่างชัดเจน เช่นโบราณสถาน คูเมืองโบราณ ศิลปะเครื่องปั้นดินเผาและลวดลายเครื่องปั้นซึ่งได้บันทึกเรื่องราวเกี่ยวกับพระพุทธเจ้า 5 พระองค์ ตลอดจนศาลเจ้าพ่อเจ้าแม่เวียงกาหลงซึ่งเป็นศาลเล็ก ๆ ที่สร้างมาหลายชั่วอายุคนและเมืองโบราณเวียงกาหลงเดิม เป็นป่ารกร้าง พระอาจารย์ธรรมสาธิต ได้เดินธุดงค์มาพบและได้ปักกลดในบริเวณนี้ เมื่อ พ.ศ.2529 ต่อมาท่านได้ร่วมมือกับหน่วยงานภาครัฐและภาคเอกชน ในการศึกษาค้นคว้าพัฒนาและฟื้นฟูเกี่ยวกับประวัติเรื่องราวตำนาน พระพุทธเจ้า 5 พระองค์ ศิลปวัฒนธรรมเครื่องปั้นดินเผา และพระยอดขุนพล ที่เคยสูญหายไปให้กับคืนมา (3) คติความเชื่อการบูชาประทีปโคมไฟ การลอยกระทง การบวชแทนคุณบิดามารดา การตั้งธรรมหลวงเทศน์มหาชาติเวสสันดรชาดกการสร้างบุญบารมีเพื่อพบพระศรีอาริยเมตไตยและพิธีกรรมทางพระพุทธศาสนาประกอบด้วยพิธีกรรม การจุดประทีปโคมไฟ ลอยกระทงการบวชแทนคุณบิดามารดาการตั้งธรรมหลวง (เทศน์มหาชาติเวสสันดรชาดก) การสร้างบุญบารมีเพื่อจะได้พบพระศรีอาริยเมตไตยในอนาคตกาล ความเชื่อและพิธีกรรมทางพระพุทธศาสนา ได้ถูกฟื้นฟูขึ้นมาเมื่อ พ.ศ.2529 โดยพระอาจารย์ธรรมสาธิต เป็นผู้นำทางด้านจิตวิญญาณ ได้พัฒนา ฟื้นฟู พิธีกรรมทางพระพุทธศาสนาขึ้น โดยกำหนด เอาวันที่ 5 ธันวาคม ของทุกปี เป็นวันประกอบพิธีกรรมทางพระพุทธศาสนา ที่สำคัญของตำบลเวียงกาหลง อำเภอเวียงป่าเป้า จังหวัดเชียงราย | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.relation.uri | https://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2013.406 | en_US |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศิลปศาสตร์--วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาไทยคดีศึกษา--วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | การปฏิบัติธรรม | th_TH |
dc.subject | เมืองโบราณ--ไทย--เชียงราย | th_TH |
dc.subject | ตำนาน--ไทย--เชียงราย | th_TH |
dc.title | การศึกษาคติธรรมทางพระพุทธศาสนาจากตำนานเมืองโบราณเวียงกาหลง ตำบลเวียงกาหลง อำเภอเวียงป่าเป้า จังหวัดเชียงราย | th_TH |
dc.title.alternative | Buddhist moral precepts found within an oral history of Wiang Kalong, Wiang Pa Pao District, Chiang Rai Province | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.identifier.DOI | 10.14457/STOU.the.2013.406 | - |
dc.degree.name | ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาศิลปศาสตร์ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The objectives of this research were to study (1) Buddhist moral precepts found in the oral history of Wiang Kalong; (2) the history of the ancient town of Wiang Kalong; and (3) the beliefs and Buddhist rituals practiced at the ancient town of Wiang Kalong. This was a qualitative research based on in-depth interviews with 30 key informants, consisting of 2 members of the general public knowledgeable on the subject (the Abbot of WatPhayodKhunpol and an observer), 3 village elders, 5 community leaders (the village headman, mayor, community headman of Wiangkalong, community headman of Phasan Village, and members of the municipal council), 10 lay people who came to practice Dhamma at WatPhrayodKhunpol (followers of the Five Precepts), 5 lay people who came to make merit at WatPhrayodKhunpol (through donations, worship and meditation), and 5 academics with knowledge of local history and Buddhist ceremonies. Data were analyzed through descriptive analysis. The results showed that (1) Buddhist moral precepts found in the oral history of Wiang Kalong are among the standard Buddhist principles of love, gratitude, mercy, devotion, sacrifice, and separation from a beloved one. These doctrines are useful in secular life and in spiritual development. They can be taught to children, youth and adults to put into practice, which will make them good people and contribute to a happier and more peaceful society. PhraAjarnDhammasatid, Abbot of WatPhrayodKhunpol, revived the legend and used and developed these doctrines (love, gratefulness, mercy and devotion) in his teachings since 1986. (2) The Wiang Kalong ancient habitation dates back more than 1,000 years. The legend of Mae PhayaKapeuk, or the white mother crow, appeared in a Buddhist text of the Lanna Kingdom. Archeological evidence exists in the form of the ruins of ancient city walls, kilns and ceramics, some of which are decorated with motifs depicting scenes from the legend of the Five Boddhisatvas. There are also numerous small shrines to the spirits of Chao Po-Chao Mae Wiang Kalong which have been there for many generations. The Wiang Kalong ancient ruins site was deserted and the forest grew around it until PhraAjarnDhammasatiddiscovered it while on a pilgrimage travel and decided to camp there in 1986. Later hejoined government and private sector agencies to research about the history of the place and to revive and promote the legend of the Five Boddhisatvas, the Wiang Kalong ceramic arts, and WatPhrayodKhunpol, so that all these lost heritages were brought back. (3) The beliefs, precepts and Buddhist rituals associated with Wiang Kalong consist of the floating candle lantern ritual to honor Mae PhayaKapeuk, Loy Krathong, being ordained as a Buddhist novice to make merit on behalf of one’s parents, hosting a recital of the VessantaraJataka, and the belief and ritual of making merit or saving good karma in the hope of meeting Maitreya, or the Future Buddha, in the next life. PhraAjarnDhammasatid, the spiritual leader of the region, revived and developed these Buddhist beliefs and rituals in 1986. He set 5 December as the day for major Buddhist ceremonies in Wiang Kalong Sub-district, Wiang Pa Pao District, ChiangRai Province. | en_US |
dc.contributor.coadvisor | จิตรา วีรบุรีนนท์ | th_TH |
Appears in Collections: | Arts-Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
fulltext (10).pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 34.14 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License