Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12325
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | เยาวภา ปิ่นทุพันธ์ | th_TH |
dc.contributor.author | พรชัย ทองบ่อ, 2506- | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ | th_TH |
dc.date.accessioned | 2024-06-26T03:00:12Z | - |
dc.date.available | 2024-06-26T03:00:12Z | - |
dc.date.issued | 2549 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12325 | en_US |
dc.description.abstract | การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) การจัดสรรงบประมาณโครงการสร้างหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า (2) ประเภทรายรับ-รายจ่ายเงินบำรุงของสถานีอนามัย (3) ปริมาณการให้บริการสุขภาพด้านต่างๆ ของสถานีอนามัย และ (4) ความสัมพันธ์ระหว่างลักษณะของสถานีอนามัยกับปริมาณการให้บริการสุขภาพด้านต่างๆ การวิจัยใช้รูปเเบบการวิจัยเชิงพรรณนาทำการศึกษาข้อมูลการเงินปีงบประมาณ 2549 ของสถานีอนามัย 111 แห่ง ในจังหวัดยโสธร จากฐานข้อมูลอิเลคโทรนิก 18 เเฟ้ม รายงาน 0110 รง. 5 และรายงานการรับ-จ่ายเงินบำรุง เครื่องมือเป็นเเบบบันทึกข้อมูลทั่วไป ข้อมูลการเงิน และข้อมูลปริมาณการให้บริการสุขภาพของสถนีอนามัย การประมวลผลและวิเคราะห์ ข้อมูลทำโดยใช้โปรแกรมคอมพิวตอร์สำร็จรูป และใช้สถิติเชิงพรรณนาเเสดงเป็นค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าพิสัย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์เพียร์สัน ผลการวิจัยพบว่า (1) สถานีอนามัยได้รับการจัดสรรงบประมาณโครงการสร้างหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าตามขนาดของสถานีอนามัย สำหรับผู้ป่วยนอกเป็นค่าบริหารจัดการ การส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคในชุมชนเละสถานบริการ ค่ายาและเวชภัณฑ์ (2) งบประมาณที่ ได้รับจัดสรรตามโดรงการสร้างหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าส่วนใหญ่เป็นรายรับเงินบำรุง ส่วนรายจ่ายเงินบำรุงส่วนใหญ่เป็นค่าใช้สอย (3) ปริมาณการให้บริการสุขภาพด้านการรักษาพยาบาลมีมากกว่าด้านการส่งเสริมสุขภาพ ป้องกันโรคเละฟื้นฟูสภาพ เละ (4) มีความสัมพันธ์ระหว่างจำนวนประชากรที่ขึ้นทะเบียนผู้มิสิทธิ จำนวนหมู่บ้าน และจำนวนบุคลากรประจำสถานีอนามัยกับปริมาณการให้บริการของสถานีอนามัย อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับความเชื่อมั่น 0.05 ข้อค้นพบจากงานวิจัยบอกถึงความสำคัญของการสนับสนุนสถานีอนามัยในการจัดทำแผนเงินบำรุงให้สอดคล้องกับงบประมาณที่ได้รับ | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Reformatted digital | en_US |
dc.subject | สถานีอนามัย--การบริหาร | th_TH |
dc.subject | สถานีอนามัย--ไทย--ยโสธร | th_TH |
dc.subject | การศึกษาอิสระ--สาธารณสุขศาสตร์ | th_TH |
dc.subject | การเงิน--การจัดการ | th_TH |
dc.title | การบริหารจัดการด้านการเงินการคลังของสถานีอนามัยในจังหวัดยโสธร ปีงบประมาณ 2549 | th_TH |
dc.title.alternative | Financial management of Health Centers in Yasothon province of the fiscal year 2006 | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | สาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
Appears in Collections: | Health-Independent study |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Fulltext_109315.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 5.13 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License