Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12328
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorจักรกฤษณ์ ศิวะเดชาเทพ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorพิศสมร เหลืองทองคำth_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพth_TH
dc.date.accessioned2024-06-26T03:25:39Z-
dc.date.available2024-06-26T03:25:39Z-
dc.date.issued2550-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12328en_US
dc.description.abstractหลังจากที่ได้มีการตราพระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ. 2535 ได้มีการกำหนดประเภทและขนาดของโครงการพัฒนาต่างๆ จำนวน 22 โครงการ ซึ่งต้องจัดทำรายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม เสนอต่อสำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ในขั้นขออนุญาตก่อสร้างหรือดำเนินการโครงการ โดยให้นำมาตรการที่กำหนดไว้ในรายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม และเงื่อนไขประกอบการเห็นชอบในรายงานฯ เป็นเงื่อนไขประกอบในการอนุญาต หรือต่อใบอนุญาตโครงการ ซึ่งโครงการจะต้องยึดถือและปฏิบัติตามอย่างเคร่งครัค รวมทั้งต้องนำเสนอผลการปฏิบัติตามมาตรการดังกล่าวต่อสำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม และหน่วยงานผู้อนุญาต เป็นประจำตามระยะเวลาที่กำหนด โดยปัจจุบันมีโครงการที่ ได้รับความเห็นชอบในรายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม ตั้งแต่ พ.ศ. 2535 จนถึง พ.ศ. 2549 มากกว่า 3,000 โครงการ แต่มีเพียงร้อยละ 25 ของโครงการดังกล่าวที่จัดส่งรายงานผลการปฏิบัติตามมาตรการดังกล่าว ต่อสำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมการศึกษาครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อรวบรวมข้อมูล วิธีการศึกษา ปัญหาและอุปสรรคของการปฏิบัติตามมาตรการฯ จากรายงาน และเอกสารต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง โดยสรุปผลการศึกษาที่ได้และจัดทำเป็น "แนวทางในการจัดทำรายงานติดตามตรวจสอบผลกระทบสิ่งแวดล้อม" โคยมีเนื้อหาประกอบด้วย ความหมายและแนวคิดของการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม และการติดตามตรวจสอบคุณภาพสิ่งแวดล้อม แนวทางในการจัดทำรายงานผลการปฏิบัติตามมาตรการ การตรวจวัดคุณภาพสิ่งเเวดล้อม และกฎหมายที่เกี่ยวข้อง ซึ่งเจ้าของโครงการ บริษัทที่ปรึกษา รวมทั้งผู้สนใจ สามารถนำไปปรับใช้ให้ตรงตามประเภทของโกรงการพัฒนาแต่ละประเภทต่อไปth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectปัญหาสิ่งแวดล้อมth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--สาธารณสุขศาสตร์th_TH
dc.titleแนวทางในการจัดทำรายงานติดตามตรวจสอบผลกระทบสิ่งแวดล้อมth_TH
dc.title.alternativeGuideline for the report of environmental impact monitoringth_TH
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameสาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิต (การจัดการสิ่งแวดล้อมอุตสาหกรรม)th_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
Appears in Collections:Health-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Fulltext_115688.pdfเอกสารฉบับเต็ม8.05 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons