Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12329
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorจักรกฤษณ์ ศิวะเดชาเทพth_TH
dc.contributor.authorพิคิด วาโยพัด, 2509-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพth_TH
dc.date.accessioned2024-06-26T03:32:42Z-
dc.date.available2024-06-26T03:32:42Z-
dc.date.issued2550-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12329en_US
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ (1) เพื่อศึกษาหาความถี่ของการเกิดอุบัติเหตุต่อชั่วโมงการทำงานของพนักงาน (2) เพื่อศึกษาหาโอกาสของการเกิดอุบัติเหตุ และความน่าเชื่อถือของอุปกรณ์และคนขับรถเครน (3) เพื่อศึกษาหาโอกาสของการเกิดอุบัติเหตุ และความน่าเชื่อถือของคนทำงานบนที่สูง (4) เพื่อศึกษาหาผลรวมโอกาสของการเกิดอุบัติเหตุ และความน่าเชื่อจากการทำงานของรถเครนและการทำงานบนที่สูง เปรียบเทียบกับค่าระดับความเสี่ยงตามมาตรฐาน AS 4360 เก็บข้อมูลจากการก่อสร้างระบบขนส่งมวลชนกรุงเทพ ส่วนต่อขยายสายสุขุมวิท ตอนที่ 1 ทั้งหมด 3 สถานี คือ สถานีบางจาก สถานีปุณณวิถี และสถานีอุดมสุข เครื่องมือที่ใช้ประเมินความเสี่ยงแบบแผนภูมิต้นไม้ (Fault Tree Analysis) วิธีการวิจัยโดยการสำรวจเก็บรวบรวมข้อมูลสถิติการเกิดอุบัติเหตุ คำนวณความถี่ในการเกิดอุบัติเหตุต่อชั่วโมงการทำงาน ประเมินความเสี่ยงโดยใช้เครื่องมือแบบแผนภูมิต้นไม้ หาสาเหตุของการเกิดอุบัติเหตุจากเหตุการณ์พื้นฐาน เหตุการณ์ย่อย และเหตุการณ์หลัก คำนวณหาโอกาสของการเกิดอุบัติเหตุ ความน่าเชื่อถือของรถขึ้นจั่นแบบเคลื่อนที่ในการทำงานยกคานคอนกของกรีต และการทำงานบนที่สูงของพนักงาน เปรียบเทียบค่าระดับความเสี่ยงตามมาตรฐาน AS 4360 ผลที่ได้จากการวิจัยครั้งนี้พบว่าความถี่ของการเกิดอุบัติเหตุที่เกิดขึ้นจริงอยู่ที่ 1 ครั้งต่อ 1,000 ชั่วโมงทำงาน มีโอกาสเกิดอุบัติเหตุจากรถขึ้นจั่นเคลื่อนที่ มีค่าสูงถึง 0.716 มีค่าความเชื่อมั่นต่ำเพียง 0.284 และมีโอกาสเกิดอุบัติเหตุจากคนทำงานตกจากที่สูง มีค่าสูงถึง 0.835 มีค่าความเชื่อมั่นต่ำเพียง 0.165 เปรียบเทียบค่าระดับความเสี่ยงตามมาตรฐาน AS 4360 มีค่าระดับความเสี่ยงของการเกิดอุบัติเหตุสูง สูงมาก ถึงรุนแรงมากth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceReformatted digitalen_US
dc.subjectความปลอดภัยในงานก่อสร้าง--การประเมินความเสี่ยงth_TH
dc.subjectคานคอนกรีตth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--สาธารณสุขศาสตth_TH
dc.titleการประเมินความเสี่ยงด้านความปลอดภัยในงานยกคานคอนกรีตในการก่อสร้างระบบขนส่งมวลชนกรุงเทพth_TH
dc.title.alternativeSafety risk assessment of lifting concrete-girder in Bangkok Transit Systemth_TH
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameสาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
Appears in Collections:Health-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Fulltext_115711.pdfเอกสารฉบับเต็ม3.54 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons