Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12384
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ปีติ พูนไชยศรี | th_TH |
dc.contributor.author | มาโนชย์ พงศ์ภัคชุติมา, 2524- | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ | th_TH |
dc.date.accessioned | 2024-07-01T04:05:48Z | - |
dc.date.available | 2024-07-01T04:05:48Z | - |
dc.date.issued | 2551 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12384 | en_US |
dc.description.abstract | วัตถุประสงค์ (1) ศึกษาและรวบรวมข้อมูลเรื่องกากตะกอนน้ำเสียจากโรงงานอุตสาหกรรม (2) ศึกษาและรวบรวมแนวทางการใช้ประโยชน์จากกากตะกอนน้ำเสียอุตสาหกรรม วิธีการจัดทำคู่มือดังกล่าว โดยศึกษาและรวบรวมข้อมูลที่เกี่ยวข้องจากงานวิจัยและวิทยานิพนธ์ เอกสารทางวิชาการต่าง ๆ และเวปไซต์ ซึ่งจากข้อมูลที่ได้มาจากวิทยานิพนธ์ และเอกสารวิชาการต่าง ๆ ทั้งในประเทศและต่างประเทศ โดยใช้เกณฑ์ในการศึกษาดังนี้ (1) ข้อมูลด้านน้ำเสียอุตสาหกรรม (2) ข้อมูลด้านกากตะกอนน้ำเสียจากอุตสาหกรรม (3) ข้อมูลด้านแนวทางการใช้ประโยชน์กากตะกอนน้ำเสีย ผลการศึกษา (1) อุตสาหกรรมอาหารและเครื่องดื่ม น้ำเสียที่เกิดขึ้นจะประกอบไปด้วยสารอินทรีย์เป็นส่วนใหญ่ และการบำบัดน้ำเสียจะใช้การบำบัดแบบชีววิทยาโดยใช้จุลินทรีย์ในการเปลี่ยนสารอินทรีย์ สุดท้ายจะได้กากตะกอนออกมาเป็นจำนวนมาก สำหรับอุตสาหกรรมที่มีการใช้สารอนินทรีย์เป็นส่วนประกอบในการผลิต เช่น อุตสาหกรรมกระดาษ อุตสาหกรรมฟอกหนัง ก่อนที่จะนำน้ำเสียไปทำการบำบัดแบบชีววิทยาในขั้นสุดท้ายต้องมีการกำจัดสารอนินทรีย์ที่เป็นพิษออกไปก่อน เช่น กรด ด่าง สารเคมี และโลหะหนัก ซึ่งกากตะกอนที่ได้จากการบำบัคดแบบชีววิทยาสามารถจะนำไปใช้ประโยชน์ได้ กากตะกอนประกอบด้วยสารต่าง ๆ ทั้งสารแขวนลอยและสารที่ละลายน้ำ ซึ่งส่วนใหญ่เป็นสารอินทรีย์ เช่น โปรตีน คาร์โบไฮเดรต ไขมัน และเศษเหลืออื่น ๆ ซึ่งจะถูกบำบัดและได้เป็นกากตะกอน นอกจากนี้กากตะกอนยังเป็นแหล่งที่มีแร่ธาตุอื่น ๆ ในปริมาณสูงโดยเฉพาะธาตุเหล็ก แมงกานีสทองแดง สังกะสีและวิตามินเกือบทุกชนิด ปริมาณของสารอาหาร ธาตุอาหารและค่าพลังงานความร้อน คุณสมบัติทางกายภาพและคุณสมบัติทางเคมีของกากตะกอน ขึ้นอยู่กับชนิดของน้ำเสียและวิธีการบำบัด (2) จากองค์ประกอบทางเคมีและกายภาพของกากตะกอนน้ำเสียอุตสาหกรรม จึงทำให้สามารถนำกลับมาใช้ประโยชน์ได้ คือ ทำอาหารสัตว์ ทำปุ๋ยหมัก ทำแท่งเพาะชำ ผลิตไฟฟ้า ทำซื้อเพลิงอัดแท่ง และทำคอนกรีตมวลเบา | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | th_TH |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Reformatted digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ--การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาสาธารณสุขศาสตร์--การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.subject | กากตะกอนน้ำเสีย--การใช้ประโยชน์ | th_TH |
dc.title | แนวทางการนำกากตะกอนน้ำเสียอุตสาหกรรมกลับมาใช้ประโยชน์ | th_TH |
dc.title.alternative | Guidelines for recycle utilization of industrial wastewater sludge | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | สาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
Appears in Collections: | Health-Independent study |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Fulltext_127337.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 8.18 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License