Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12395
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorธนชัย ยมจินดาth_TH
dc.contributor.authorกนกวรรณ ศรีสาครบริสุทธิ์, 2520-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.date.accessioned2024-07-03T08:30:40Z-
dc.date.available2024-07-03T08:30:40Z-
dc.date.issued2552-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12395-
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาการตอบสนองความต้องการด้านการบริการของผู้ถือกรมธรรม์ประกันชีวิตของบริษัท อยุธยา อสิอันซ์ ซี.พี. จำกัด (มหาชน) (2) เปรียบเทียบลักษณะส่วนบุดคลที่มีต่อการตอบสนองความต้องการของถูกค้าของบริษัท อยุธยา อลิอันซ์ ซี.พี. จำกัด (มหาชน) (3) ศึกษาความสัมพันธ์ของปัจจัยการบริการกับการตอบสนองความต้องการของลูกค้าผู้ถือกรมธรรม์ประกันชีวิตบริษัท อยุธยา อลิอันช์ ซี.พี. จำกัด (มหาชน) กลุ่มตัวอย่าง คือ ผู้ที่ซื้อกรมธรม์แบบสะสมทรัพย์ระยะเวลาไม่เกิน 1 ปี ของบริษัท อยุธยา อดิอันช์ ซี.พี. จำกัด (มหาชน) ในเขตกรุงเทพมหานคร จำนวน 300 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบสอบถาม สถิตที่ใช้วิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ การแจกแจงความถี่ การหาค่าร้อยละ การหาค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานสำหรับการทคสอบสมมติฐานจะใช้สถิติ ได้แก่ การทดสอบค่าที การทคสอบค่าเอฟ การเปรียบเทียบรายคู่ด้วย วิธีแฮลเอสดี และการวิเคราะห์สหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน ผลการวิจัย พบว่า (1) การตอบสนองความต้องการการบริการของถูกค้าบริษัท อยุธยา อลิอันซ์ ชี.พี. จำกัด (มหาชน) ในภาพรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณารายข้อพบว่า การตอบสนองอยู่ในระดับมากทั้ง 7 ด้าน โดยด้านที่มีค่าเฉลี่ยมากที่สุด คือ ด้านความเชื่อมั่นและความไว้วางในการขอรับบริการตัดสินใจเป็นผู้ถือกรมธรรม์ประกันชีวิตกับ AACP รองลงมา คือ ค้านความประทับใจในการบริการ ไม่ว่าจากเจ้าหน้าที่ของบริษัท หรือจากตัวแทนที่ให้บริการ และข้อที่มีค่าเฉลี่ยน้อยที่สุด คือ ค้านความรวดเร็วจากการเคลมและการติดต่อประสานงานในปัญหาต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นกับผู้เอาประกันภัย (2) การตอบสนองความต้องการของลูกค้า พบว่ากลุ่มตัวอย่างที่มีอายุ ระดับการศึกษา ระดับรายได้ และอาชีพที่แตกต่างกันมีความคิดเห็นต่อการตอบสนองความต้องการการบริการของลูกค้าของบริษัท อยุธยา อลิอันซ์ ซี.พี. จำกัด (มหาชน) ในภาพรวมแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 เมื่อทดสอบความแตกต่างรายคู่ พบว่า คู่ที่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ได้แก่ กลุ่มที่มีอายุ 21-30 ปี กับกลุ่มที่มีอายุ 31-40 ปี กลุ่มที่มีอายุ 21-30 ปี กับกลุ่มที่มีอายุ 41-50 ปี และกลุ่มที่มีอายุ 21-30 ปี กับกลุ่มที่มีอายุมากกว่า 50 ปี ฯลฯ เป็นต้น (3) ปัจจัยการบริการทั้ง 7 ด้าน พบว่ามีความสัมพันธ์เชิงบวกกับการตอบสนองความต้องการการบริการของลูกค้า อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/-
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารธุรกิจ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectบริการลูกค้าth_TH
dc.titleการบริการเพื่อตอบสนองความต้องการของลูกค้าบริษัทอยุธยา อลิอันซ์ ซี.พี. จำกัด (มหาชน)th_TH
dc.title.alternativeService for customer responsiveness at Ayudhya Alliance C.P.Co.,Ltd. / Service for customer responsiveness at Ayudhya Alliance C.P.Co.,Ltden_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
Appears in Collections:Manage-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
fulltext_125692.pdf4.38 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons