Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12423
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | บริบูรณ์ ปิ่นประยงค์ | th_TH |
dc.contributor.author | ยศวัฒน์ สมศรีพลอย | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ | th_TH |
dc.date.accessioned | 2024-07-04T07:55:56Z | - |
dc.date.available | 2024-07-04T07:55:56Z | - |
dc.date.issued | 2561 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12423 | en_US |
dc.description.abstract | การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) พฤติกรรมการใช้บริการตู้เกมของผู้บริโภคในอำเภอเมือง จังหวัดนครสวรรค์ (2) ปัจจัยส่วนบุคคลที่มีผลต่อพฤติกรรมการใช้บริการตู้เกมในอำเภอเมือง จังหวัดนครสวรรค์ (3) ปัจจัยส่วนประสมการตลาดที่มีผลต่อพฤติกรรมการใช้บริการตู้เกมในอำเภอเมือง จังหวัดนครสวรรค์และ (4) ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนบุคคลกับปัจจัยส่วนประสมการตลาดที่มีอิทธิพลต่อการใช้บริการตู้เกมในอำเภอเมือง จังหวัดนครสวรรค์ การศึกษานี้เป็นการวิจัยเชิงสำรวจ ประชากรที่ใช้ในการศึกษา คือผู้ที่เคยใช้บริการตู้เกมที่อาศัยอยู่ในพื้นที่เขตอำเภอเมือง จังหวัดนครสวรรค์ กำหนดขนาดกลุ่มตัวอย่างด้วยสูตร การคำนวณของ ทาโร ยามาเน่ ได้420คน ด้วยวิธีการสุ่มตัวอย่างแบบ มีจุดประสงค์เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาคือแบบสอบถาม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลได้แก่ร้อยละค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบค่าไคสแควร์ ผลการศึกษาพบว่า (1) ส่วนใหญ่ผู้บริโภคมีพฤติกรรมการการใช้บริการตู้เกมคีบตุ๊กตา บุคคลที่มีอิทธิพลในการตัดสินใจใช้บริการคือ ตนเอง เหตุผลที่เล่นเพื่อความสนุก โอกาสที่ใช้บริการเพราะเล่นระหว่างรอเพื่อน โดยเล่นเพียง 1 ตู้ต่อครั้ง จำนวนที่เล่น 1-3 ครั้งต่อเดือน โดยมี จำนวนเงินที่ใช้ 30-40 บาทต่อครั้ง (2) ปัจจัยส่วนบุคคลที่มีผลต่อพฤติกรรมการใช้บริการคือ เพศของผู้บริโภคที่เพศหญิง ช่วงอายุ 15-18 ปี จะใช้บริ การมากกว่าเพศชาย (3) ปัจจัยส่วนประสมการตลาดด้านช่องทางการจัดจ าหน่าย ในส่วนของตั้งในพื้นที่เห็นง่าย และสามารถเข้าถึงได้ง่าย มีผลต่อการใช้บริการตู้เกมในอ าเภอเมือง จังหวัดนครสวรรค์ และ (4) ปัจจัยส่วนบุคคล ด้านอายุระดับการศึกษา อาชีพ และรายได้ มีความสัมพันธ์กับปัจจัยส่วนประสมการตลาดอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | ตู้เกม | th_TH |
dc.subject | การตลาด--การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ--การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารธุรกิจ--การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.title | ปัจจัยส่วนประสมการตลาดที่มีความสัมพันธ์กับการใช้บริการตู้เกมในอำเภอเมือง จังหวัดนครสวรรค์ | th_TH |
dc.title.alternative | Marketing mix factors affecting the use of game cabinet services at Mueang District in Nakhon Sawan Province | en_US |
dc.type | Thesis | th_TH |
dc.degree.name | บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาวิทยาการจัดการ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The objectives of this study were (1) to study the behavior of Use of game cabinet services at Mueang District in Nakhon Sawan Province (2) to study personal factors affecting the use of game cabinet services at Mueang District in Nakhon Sawan Province (3) to study the marketing mix factors affecting the use of game cabinet services at Mueang District in Nakhon Sawan Province, and (4) to study the relationship between personal factors and marketing mix factors affecting the use of game cabinet services at Mueang District in Nakhon Sawan Province. This study was a survey research. Population was persons who used to play game cabinet services at Mueang District in Nakhon Sawan Province. Sample size was calculated by Taro Yamane and obtained 420 persons with simple sampling method. Frequency, percentage, mean, standard deviation and Chi – square test were used for data analysis. The results showed that (1) most of the samples played game cabinet services at persons who influenced the decision to play was themselves with the reason for fun and played during waiting for friends, played 1 video arcade per time and played 1-3 time(s) a month and spent 30-40 baht a time (2) personal factor affecting the use of game cabinet services was gender. Female aged between 15-18 years used more than male (3) marketing mix factors in term of distribution channel regarding the easy-to-see area and accessible area affecting the use of game cabinet services at Mueang District in Nakhon Sawan Province, and (4) personal factors in the aspect of age, education level, career. | en_US |
Appears in Collections: | Manage-Independent study |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
160374.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 12.57 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License