Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12514
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorมุกดา หนุ่ยศรีth_TH
dc.contributor.authorนิภา ใจสมคมth_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาพยาบาลศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2024-07-13T07:25:30Z-
dc.date.available2024-07-13T07:25:30Z-
dc.date.issued2555en_US
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12514en_US
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ(1) พัฒนามาตรฐานการพยาบาลผู้ป่วยผ่าตัดสลายต้อกระจกด้วยคลื่นเสียงความถี่สูงของโรงพยาบาลชุมพรเขตรอุดมศักดิ์(2) ประเมินความพึงพอใจของพยาบาลผ่าตัดต่อมาตรฐานการพยาบาลและ (3) ประเมินความเป็นไปได้ในการนำมาตรฐานการพยาบาลไปใช้ กลุ่มตัวอย่างมี 2 กลุ่ม คือ พยาบาลผ่าตัดผู้มีความเชี่ยวชาญในการพยาบาลผู้ป่วยผ่าตัดศัลยกรรมจักษุโรงพยาบาลชุมพรเขตรอุคมศักดิ์ จำนวน 3 คน ผู้ดำเนินการร่างมาตรฐานการพยาบาล ทั้งมาตรฐานเชิงกระบวนการและเชิงผลลัพธ์ตามขั้นตอนของกระบวนการพยาบาล โดยกระบวนการกลุ่มสนทนา และพยาบาลผ่าตัดโรงพยาบาลชุมพรเขตรอุคมศักดิ์ จำนวน 20 คน เป็นผู้ประเมินความความพึงพอใจและความเป็นไปได้ในการนำมาตรฐานการพยาบาลไปใช้ ขั้นตอนในการคำเนินการพัฒนามี 3 ระยะ คือ ระยะเตรียมการระยะพัฒนามาตรฐาน และระยะประเมินผล เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาเป็นแบบสอบถามที่มีส่วนประกอบ 3 ส่วน ได้แก่ ส่วนที่ ข้อมูลส่วนบุคคล ส่วนที่ 2 ความพึงพอใจในมาตรฐานการพยาบาลและส่วนที่ 3 ความเป็นไป'ได้ในการนำมาตรฐานการพยาบาลไปใช้วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติพรรณนา ผลการศึกษา (1) มาตรฐานการพยาบาลผู้ป่วยผ่าตัดสลายต้อกระจกด้วยคลื่นเสียงความถี่สูงโรงพยาบาลชุมพรเขตรอุดมศักดิ์ ประกอบด้วยมาตรฐานเชิงกระบวนการและเชิงผลลัพธ์ 18 มาตรฐาน แบ่งเป็นระยะก่อนผ่าตัดรมาตรฐาน ระขะผ่าตัด 7 มาตรฐาน และระยะหลังผ่าตัด 6 มาตรฐาน(2) พยาบาลผ่าตัดพึงพอใจมาตรฐานการพยาบาลผู้ป่วยผ่าตัดสลายต้อกระจกด้วยคลื่นเสียงความถี่สูงในระดับสูงและ (3) ความเป็นได้ในการนำมาตรฐานการพยาบาลไปใช้ทุกมาตรฐานอยู่ในระดับสูงth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาพยาบาลศาสตร์ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการบริหารการพยาบาล --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectโรงพยาบาลชุมพรเขตรอุดมศักดิ์th_TH
dc.subjectต้อกระจกth_TH
dc.subjectการพยาบาล--มาตรฐานth_TH
dc.subjectคลื่นเสียงความถี่สูง--การรักษาth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--การบริหารการพยาบาลth_TH
dc.titleมาตรฐานการพยาบาลผู้ป่วยที่เข้ารับการผ่าตัดสลายต้อกระจกด้วยคลื่นเสียงความถี่สูงโรงพยาบาลชุมพรเขตรอุดมศักดิ์th_TH
dc.title.alternativeThe development of nursing standards in cataract operation using a phacoemulsification technique at Chumphonkhet Udomsakdi Hospitalth_TH
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต (การบริหารการพยาบาล)th_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาพยาบาลศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this study were: (1) to develop nursing standards for patients who received cataract operation usinga phacoemulsification technique at ChumphonKhetUdomsakdi Hospital, (2) to evaluatenurses’satisfactionwith nursing standards, and (3) to assess the possibility of using these nursing standards in the cataract operation. Samples included two groups. The first group was three expert perioperative nurses atChumphonKhetUdomsakdiHospital who worked in the Eye Operation Department. These nurses draftedthe nursing standards for both processes and outcomeesby using the focus group process.The second group was twenty perioperativenurses at ChumphonKhetUdomsakdi Hospital,andthey evaluated their satisfaction andthe possibility of using thesenursing standards. This study was divided into 3 phrases: preparation, development, and evaluation. The research tool of this study was a questionnaire which composed of 3 sections: 1) personal data; 2) satisfactionwiththenursing standards, and 3) the possibility of using thenursing standards. Data were analyzed by descriptive statistics. The results of this study revealed as follows. (1)The nursing standards were established for patients who had cataract operation using the phacoemulsification technique at ChumphonKhetUdomsakdi Hospital. It composed 18process and outcome nursing standards including five nursing standards in the preoperative phase, seven nursing standards in the operative phase, and six nursing standards in the postoperative phase. (2) Perioperative nurses rated their satisfaction with nursing standards at the high level.Finally,(3) They also ratedthe possibility of using the nursing standardswith cataract patients at the high level.en_US
Appears in Collections:Nurse-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Fulltext_137482.pdfเอกสารฉบับเต็ม18.45 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons