Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1251
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorศิริรัตน์ จำแนกสาร-
dc.date.accessioned2022-08-29T07:26:26Z-
dc.date.available2022-08-29T07:26:26Z-
dc.date.issued2563-
dc.identifier.citationวารสารการวัด ประเมินผล สถิติ และการวิจัยทางสังคมศาสตร์ 1,1 (ม.ค.-มิ.ย. 2563),12-20th_TH
dc.identifier.issn2730-2466-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1251-
dc.description.abstractการวิเคราะห์โมเดลสมการโครงสร้างพหุระดับเป็นเทคนิคการวิเคราะห์ทางสถิติขั้นสูงที่เกิดจากการบูรณาการแนวคิดการวิเคราะห์โมเดลสมการโครงสร้างกับการวิเคราะห์พหุระดับ เพื่อศึกษาอิทธิพลของตัวแปรทำนายหลายระดับที่มีต่อตัวแปรตาม และสามารถศึกษาปฏิสัมพันธ์ข้ามระดับได้ ทำให้มีความครอบคลุมและลึกซึ้งกว่าสถิติวิเคราะห์แบบประเพณีนิยม และช่วยแก้ไขข้อจำกัดในการวิเคราะห์ของโมเดลสมการโครงสร้างและการวิเคราะห์พหุระดับได้ การเลือกใช้สถิติควรคำนึงถึงข้อตกลงเบื้องต้นทางสถิติ การกำหนดขนาดตัวอย่างที่เหมาะสมโดยพิจารณาขนาดตัวอย่างระดับมหภาคหรือระดับกลุ่มเป็นอันดับแรก โดยขนาดตัวอย่างระดับกลุ่มสูงสุดในการวิเคราะห์ควรมีจำนวนมากกว่า 30 กลุ่มขึ้นไป สำหรับขนาดตัวอย่างระดับจุลภาคหรือระดับบุคคลที่เหมาะสมควรมีขนาดตัวอย่างเท่ากับ 10-20 เท่าของจำนวนพารามิเตอร์ สำหรับการประมาณค่าพารามิเตอร์ด้วยวิธีความเป็นไปได้สูงสุด (ML) และวิธีความเป็นไปได้สูงสุดแบบให้สารสนเทศเต็ม (FIML) ใช้ในกรณีที่ขนาดตัวอย่างแต่ละกลุ่มเท่ากัน และข้อมูลมีการแจกแจงแบบปกติ ส่วนการประมาณค่าพารามิเตอร์ด้วยวิธีกึ่งความเป็นไปได้สูงสุดของ Muthen (MUML) วิธีความเป็นไปได้สูงสุดบางส่วน (PML) และวิธีความเป็นไปได้สูงสุดด้วยค่าความคลาดเคลื่อนมาตรฐานที่แกร่งและไคสแควร์ (MLR) ใช้ในกรณีจำนวนหน่วยตัวอย่างในแต่ละกลุ่มไม่เท่ากัน และข้อมูลมีการแจกแจงที่ไม่เป็นโค้งปกติ ทั้งนี้ถ้ากลุ่มตัวอย่างมีขนาดใหญ่เพียงพอการประมาณค่าพารามิเตอร์ด้วยวิธี ML และวิธี MUML จะให้ค่าที่ใกล้เคียงกันth_TH
dc.publisherสำนักทะเบียนและวัดผล มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/-
dc.subjectโมเดลพหุระดับ (สถิติ)th_TH
dc.subjectการวิเคราะห์พหุระดับth_TH
dc.titleการประเมินความเสี่ยงต่อความผิดปกติทางระบบกระดูกโครงร่างและกล้ามเนื้อ จากการทำงานของพนักงานอุตสาหกรรมสิ่งทอในกิจการส่งออกขนาดย่อม เพื่อการจัดการทางการยศาสตร์th_TH
dc.title.alternativeRisk assessment on work-related musculoskeletal sisorders for ergonomics management program among industrial workers in textile export and small enterpriseth_TH
dc.typeArticleth_TH
Appears in Collections:Journal of Social Sciences in Measurement Evaluation Statistics and Research

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
44143.pdfเอกสารฉบับเต็ม414.43 kBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons