Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12520
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorเปรมฤทัย น้อยหมื่นไวยth_TH
dc.contributor.authorบัวเรียน สมมุติth_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาพยาบาลศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2024-07-13T08:06:20Z-
dc.date.available2024-07-13T08:06:20Z-
dc.date.issued2560-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12520en_US
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้เป็นการศึกษาเชิงพรรณนา มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาคุณภาพการบริการพยาบาลตามการรับรู้ของผู้ป่วยที่เข้ารับการรักษาในโรงพยาบาลเพชรบูรณ์ 2) เปรียบเทียบคุณภาพการบริการพยาบาลระหว่างกลุ่มอายุของผู้ป่วย และ 3) เปรียบเทียบคุณภาพการบริการพยาบาลระหว่างแผนกผู้ป่วยใน โรงพยาบาลเพชรบูรณ์ กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้ป่วยที่เข้ารับการรักษาที่แผนกผู้ป่วยใน โรงพยาบาลเพชรบูรณ์ จำนวน 90 คน เลือกกลุ่มตัวอย่างตามความสะดวก เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาเป็นแบบสอบถามแบ่งเป็น 2 ส่วน ได้แก่ 1) ข้อมูลส่วนบุคคล และ 2) ความคิดเห็นเกี่ยวกับคุณภาพการพยาบาลที่ผู้ป่วยได้รับ ซึ่งผ่านการตรวจความตรงเชิงเนื้อหาโดยผู้ทรงคุณวุฒิจำนวน 3 ท่าน โดยแบบสอบถามนี้มีค่าความตรงของเนื้อหา เท่ากับ 0.96 ค่าสัมประสิทธิ์อัลฟาของครอนบาค เท่ากับ .98 วิเคราะห์ ข้อมูล โดยใช้สถิติพรรณนา ได้แก่ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว และสถิติที่แบบเป็นอิสระต่อกัน ผลการวิจัยพบว่า 1) คุณภาพการบริการพยาบาลโดยรวมตามการรับรู้ของผู้ป่วยที่เข้ารับการรักษาในโรงพยาบาลเพชรบูรณ์อยู่ในระดับมาก 2) ผู้ป่วยมีการรับรู้คุณภาพการบริการพยาบาลไม่แตกต่างกันในช่วงอายุอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (0>.05) ยกเว้นด้านศิลปะการดูแลที่มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p <.05) และ 3) ผู้ป่วยมีการรับรู้คุณภาพการบริการพยาบาลไม่แตกต่างกันระหว่างแผนกป่วยในอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (0>.05 ยกเว้นด้านศิลปะการดูแลและการจัดสภาพแวดล้อมที่มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p<.05)th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาพยาบาลศาสตร์ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการบริหารการพยาบาล --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectโรงพยาบาลเพชรบูรณ์--ความพอใจของผู้ใช้บริการth_TH
dc.subjectบริการการพยาบาลของโรงพยาบาลth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--การบริหารการพยาบาลth_TH
dc.titleคุณภาพการบริการพยาบาลตามการรับรู้ของผู้ป่วยในโรงพยาบาลเพชรบูรณ์th_TH
dc.title.alternativeQuality of nursing care services as perceived by patients in Phetchabun Hospitalth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต (แขนงวิชาการบริหารการพยาบาล)th_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาพยาบาลศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this descriptive study were: 1) to study the level of quality of nursing care services on the perceptions of patients in Phetchabun hospital, 2) to compare quality of nursing care services among aged groups, and 3) to compare quality of nursing care services between inpatient units in Phetchabun hospital. The sample included 90 patients who admitted at inpatient units in Phetchabun hospital. They were selected by convenient sampling. A questionnaire was used as a research tool and composed of personal data and the patient perception of quality of nursing care services. The content validity of a questionnaire was verified by 3 experts, and the CVI of the patient perception of quality of nursing care services questionnaire was .98. Cronbach‘s alpha reliability coefficients of the patient perception of quality of nursing care services questionnaire was .96. Data were analyzed by descriptive statistics (frequency, percentage, mean, and standard deviation), one way ANOVA, and independent t-test. The results of this study were as follows. 1) Patients rated the overall quality of nursing care services at the high level. 2) There were no statistically significant differences among aged groups ( p>.05) ) , but statistically significant differences in art of care ( p.05), but statistically significant differences in art of care and physical environment (p<.05).en_US
Appears in Collections:Nurse-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Fulltext_159393.pdfเอกสารฉบับเต็ม10.84 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons