Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12523
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | เรณุการ์ ทองคำรอด | th_TH |
dc.contributor.author | ปภาวี วินัยวัฒนวงศ์ | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาพยาบาลศาสตร์ | th_TH |
dc.date.accessioned | 2024-07-13T08:21:38Z | - |
dc.date.available | 2024-07-13T08:21:38Z | - |
dc.date.issued | 2555 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12523 | en_US |
dc.description.abstract | การศึกษาเชิงสำรวจครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาความคาดหวังของผู้ใช้บริการต่อคุณภาพการบริการพยาบาลของโรงพยาบาลเกษมรายฎร์บางแค 2) ศึกษาความพึงพอใจของผู้ใช้บริการต่อคุณภาพการบริการพยาบาลของโรงพยาบาลเกษมรายฎร์บางแค และ 3) เปรียบเทียบความคาดหวังและ ระดับความพึงพอใจของผู้ใช้บริการต่อคุณภาพการบริการพยาบาลโรงพยาบาลเกษมราษฎร์บางแค ประชากรที่ศึกษาเป็นผู้ป่วยที่ใช้บริการแผนกหอผู้ป่วยในโรงพยาบาลเกษมราษฎร์บางแค ตลอดปี 2554 จำนวน 12,948 คน กลุ่มตัวอย่างจำนวน 388 คน ได้จากการสุ่มแบบแบ่งชั้นเครื่องมือที่ใช้เป็นแบบสอบถาม ประกอบด้วย 2 ส่วน ได้แก่ ส่วนที่ 1 ข้อมูลส่วนบุคคลเป็นแบบเลือกตอบจำนวน 5 ข้อ และส่วนที่ 2 ความคาดหวังและความพึงพอใจของผู้ใช้บริการที่มีต่อคุณภาพการพยาบาล ซึ่งผู้วิจัยคัดแปลงจากแบบวัดความพึงพอใจต่อคุณภาพการพยาบาลของ อารี ชีวเกษมสุข และจินตนา ยูนิพันธุ์ (2548) มีลักษณะเป็นแบบมาตราส่วนประมาณค่าจาก 0 ถึง 200 จำนวน 46 ข้อ ตรวจสอบความตรงตามเนื้อหา โดยผู้ทรงคุณวุฒิจำนวน 5 ท่าน และทดสอบความเที่ยงโดยนำไปทดลองใช้กับผู้ป่วยที่มีลักษณะเช่นเดียวกับกลุ่มตัวอย่างจำนวน 33 คน ได้ค่าอัลฟาครอนบาคเท่ากับ 0.93 วิเคราะห์ข้อมูลโดยการหาความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสถิติทดสอบที ผลการศึกษาพบว่า (1) คะแนนการรับรู้คุณภาพการพยาบาลโดยรวมสูงกว่าความคาดหวังในระดับปานกลาง (2) คะแนนความพึงพอใจต่อคุณภาพบริการพยาบาลโดยรวมสูงกว่าความคาดหวัง ในระดับปานกลาง (3) ความพึงพอใจของผู้ใช้บริการโดยรวมสูงกวาความคาดหวัง ของผู้ใช้บริการต่อคุณภาพการบริการพยาบาลอยางมีนัยสำคัญที่ระดับ 0.01 | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | th_TH |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาพยาบาลศาสตร์--การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการบริหารการพยาบาล--การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.subject | โรงพยาบาลเกษมราษฎร์บางแค--ความพอใจของผู้ใช้บริการ | th_TH |
dc.subject | การบริการทางการแพทย์ | th_TH |
dc.subject | ความพอใจของผู้ใช้บริการ | th_TH |
dc.subject | การศึกษาอิสระ--การบริหารการพยาบาล | th_TH |
dc.title | ความคาดหวังและความพึงพอใจของผู้ใช้บริการต่อคุณภาพการบริการพยาบาลโรงพยาบาลเกษมราษฎร์บางแค | th_TH |
dc.title.alternative | Expectation and satisfaction of clients on quality of nursing service at Kasemarad Hospital | th_TH |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | พยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาพยาบาลศาสตร์ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The main purposes of this exploratory study were: (1) to examine expectation of clients on quality of nursing services at Kasamarad Bangkhae Hospital, (2) to study satisfaction of clients on quality of nursing services at Kasamarad Bangkhae Hospital, and (3) to compare expectation and satisfaction of clients on quality of nursing services at Kasamarad Bangkhae Hospital. The population was clients who received services at the In-patient Department in Kasamarad Bangkhae Hospital. The sample comprised of 388 clients who were selected by simple random sampling technique. Questionnaires were used as study tools and comprised of 2 sections: 1) demographic data and 2) expectation and satisfaction of clients on quality of nursing services which applied from a patient satisfaction with quality of nursing care which developed by Aree Cheevakasemsook and Jintana Unibhand (2005). The questionnaires were tested for validity by 5 experts. The Cronbach’s alpha reliability coefficient was 0.93. Statistics used for data analysis were frequency, percentage, mean, standard deviation, and dependent t-test. The findings were as follows: (1) Clients rated their expectation on quality of nursing services beyond 100 % at the middle level. (2) Clients rated their satisfaction on quality of nursing services beyond 100 % at the middle level. Finally, (3) The mean scores of client’s satisfaction on quality of nursing services were significantly higher than that of Client expectation at the level 0.01. | en_US |
Appears in Collections: | Nurse-Independent study |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Fulltext_137481.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 15.83 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License