กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12527
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.advisorสราวุธ สุธรรมาสาth_TH
dc.contributor.advisorทิพรชัย ปราการพิลาศth_TH
dc.contributor.authorทิพรชัย ปราการพิลาศth_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพth_TH
dc.date.accessioned2024-07-13T08:51:16Z-
dc.date.available2024-07-13T08:51:16Z-
dc.date.issued2550-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12527-
dc.description.abstractการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อการศึกษา (1) ข้อมูลสิ่งที่ไม่เป็นไปตามข้อกำหนดที่พบในการดำเนินระบบขององค์กรที่ได้รับการรับรองระบบการจัดการสิ่งแวดล้อมตามมาตรฐาน ISO 14001และ (2) เพื่อศึกษาแนวทางในการแก้ไขป้องกันปัญหาในการดำรงไว้ซึ่งระบบการจัดการสิ่งแวดล้อมตามมาตรฐาน ISO 14001 การศึกษาครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงสำรวจเพื่ออธิบายประชากรที่ศึกษา คือองค์กรที่ได้รับ การรับรองระบบการจัดการสิ่งแวดล้อมตามมาตรฐาน ISO 14001 จำนวนทั้งสิ้น 35 ราย ซึ่ง ครอบคลุมทั้งภาคธุรกิจอุตสาหกรรมเคมีและปิโตรเคมีเป็นการศึกษาทั้งประชากร และนำข้อมูลที่ได้ มาจัดระเบียบ และทำการวิเคราะห์ข้อมูลโดยการวิเคราะห์เนื้อหา และทำการพรรณนาส่วนที่เกี่ยวข้อง ผลการวิจัยพบว่า ข้อบกพร่องที่พบมากที่สุด 3 ลำดับแรก คือลำดับแรก ข้อกำหนด 4.3.2 กฎหมายและข้อกำหนดอื่นๆ จำนวนข้อบกพร่องที่พบเท่ากับ 15 ข้อบกพร่อง คิดเป็นร้อยละ 36.6(อุตสาหกรรมเคมีพบข้อบกพร่องจำนวน 13 ข้อบกพร่อง คิดเป็นร้อยละ 34.21และอุตสาหกรรมปิโตร เคมีพบข้อบกพร่องจำนวน 2 ข้อบกพร่อง คิดเป็นร้อยละ 66.67) ลำดับที่สอง ข้อกำหนด 4.4.6 เรื่อง การควบคุมการดำเนินการ จำนวนข้อบกพร่องที่พบเท่ากับ 9 ข้อบกพร่อง คิดเป็นร้อยละ22.0 (อุตสาหกรรม เคมีพบข้อบกพร่องจำนวน 8 ข้อบกพร่อง คิดเป็นร้อยละ 34.21และอุตสาหกรรมปิโตรเคมีพบข้อบก พร่องจำนวน 1 ข้อบกพร่อง คิดเป็นร้อยละ 33.33) และลำดับที่สาม ข้อกำหนด 4.5.2 การประเมิน ความสอดคล้องและข้อกำหนด 4.3.1 ลักษณะปัญหาสิ่งแวดล้อมจำนวนข้อบกพร่องที่พบเท่ากับ 4 ข้อ บกพร่องเท่ากัน คิดเป็นร้อยละ 9 อุตสาหกรรมเคมี มีจำนวนข้อบกพร่องต่อโรงงานมากกว่าคิดเป็น 2.6 เท่าของอุตสาหกรรมปิโตรเคมี และอุตสาหกรรมเคมีมีสาเหตุของความไม่เป็นไปตามข้อกำหนด จากความไม่เข้าใจในข้อกำหนดของผู้ปฏิบัติงาน คิดเป็นร้อยละ 52.63 ส่วนอุตสาหกรรมปิโตรเคมีไม่ พบเลย แนวทางการปฏิบัติการแก้ไขข้อบกพร่องยังไม่เป็นการแก้ไขสาเหตุของปัญหาที่เกิดอย่างแท้จริงและยังไม่เน้นที่การป้องกันไม่ให้เกิดซ้ำth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)th_TH
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาสาธารณสุขศาสตร์ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectอุตสาหกรรมปิโตรเคมี--แง่สิ่งแวดล้อมth_TH
dc.subjectISO 14001 Series Standards.th_TH
dc.subjectไอเอสโอ 14001.th_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--สาธารณสุขศาสตร์th_TH
dc.titleเรื่องความไม่เป็นไปตามข้อกำหนดและการปฏิบัติการแก้ไขที่พบจากการตรวจประเมิน ISO 14001 ในอุตสาหกรรมเคมีและปิโตรเคมีth_TH
dc.title.alternativeNonconformity and corrective action from ISO 14001 audit in chemical and petrochemical industryth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameสาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิต (การจัดการสิ่งแวดล้อมอุตสาหกรรม)th_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:Health-Independent study

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
Fulltext_119260.pdfเอกสารฉบับเต็ม4.7 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการนี้ได้รับอนุญาตภายใต้ Creative Commons License Creative Commons