Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12531
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสราวุธ สุธรรมมาสาth_TH
dc.contributor.authorสินิทรา ป้อมสนาม, 2509-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพth_TH
dc.date.accessioned2024-07-15T03:23:24Z-
dc.date.available2024-07-15T03:23:24Z-
dc.date.issued2550-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12531en_US
dc.description.abstractโรงพยาบาลที่มีคุณภาพ คือโรงพยาบาลที่มีความปลอดภัยต่อผู้ป่วย ต่อผู้ปฏิบัติงานและต่อชุมชน การจัดการด้านสิ่งแวดล้อมจึงเข้ามามีส่วนสำคัญอย่างยิ่งในการที่จะสร้างให้เกิดความมั่นใจว่า ผู้ที่อยู่ในพื้นที่โรงพยาบาลจะมีความปลอดภัย และชุมชนไม่ได้รับผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อมจากการดำเนินงานของโรงพยาบาล ซึ่งในอดีตที่ผ่านมา โรงพยาบาลต่างๆ มองข้ามความ สำคัญกับการจัดการด้านสิ่งแวดล้อม เนื่องจากมุ่งเน้นเฉพาะในส่วนการให้บริการสุขภาพและกฎหมายข้อบังคับที่เกี่ยวข้อง ยังไม่ประกาศใช้อย่างชัดเจน โคยเฉพาะเรื่องสารเคมีในปัจจุบันมีหลายองค์กร/หน่วยงาน ให้ความสำคัญกับการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม มีการประกาศใช้กฎหมาย ข้อบังคับ และประกาศใช้มาตรฐานที่เกี่ยวข้อง อาทิ ISO JCIA และ HA ส่งผลให้โรงพยาบาลหลายแห่งมีความตระหนักถึงผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อมที่เกิดจากกระบวนการให้บริการ กระบวนการทำงาน ระบบสาธารณูปโภค วัสดุและของเสียอันตราย ได้แก่สารเคมี ยาเคมีบำบัด สารกัมมันตรังสี ของเสียทางการแพทย์ที่ติดเชื้อและของมีคม ดังนั้น การจัดการสารเคมีในโรงพยาบาลอย่างปลอดภัยจึงเริ่มต้นจากการระบุรายการสารเคมีและของเสียอันตรายที่มีอยู่ในโรงพยาบาล การวางแนวทางปฏิบัติที่รัดกุมตั้งแต่การเลือก การสัมผัส การจัดเก็บ การเคลื่อนย้าย การใช้ และการกำจัด โดยผู้ที่เกี่ยวข้องต้องมีความรู้เกี่ยวกับการจัดการในแต่ละขั้นตอนข้างต้น และสามารถปฏิบัติงานตามแนวทางที่วางไว้อย่างเคร่งครัดเพื่อป้องกันอันตราย ได้แก่ การสวมใส่อุปกรณ์ป้องกันการปฏิบัติเมื่อพบการหก/ปนเปื้อน การทำความสะอาด นอกจากนี้ สิ่งที่ควรคำนึงถึงนั่นคือ การจัดสรรอุปกรณ์ที่เพียงพอ และจัดสถานที่ที่มีความเหมาะสมเป็นสัดส่วน ตลอดจนการจัดทำแผนรองรับเมื่อเกิดเหตุฉุกเฉิน การตรวจสอบและเฝ้าระวังความเสี่ยงที่อาจเกิดขึ้น โคยมีความสอดคล้องกับกฎหมาย ข้อบังคับและมาตรฐานที่เกี่ยวข้องth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)th_TH
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourcereformateden_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาสาธารณสุขศาสตร์ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectสารเคมี--การจัดการth_TH
dc.subjectขยะติดเชื้อ--การจัดการth_TH
dc.subjectขยะทางการแพทย์--การจัดการth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--วิทยาศาสตร์สุขภาพth_TH
dc.titleการจัดการสารเคมีในโรงพยาบาลth_TH
dc.title.alternativeChemical management in hospicalen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameสาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
Appears in Collections:Health-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
fulltext_121992.pdfเอกสารฉบับเต็ม10.23 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons