Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12603
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorดวงกมล ปิ่นเฉลียวth_TH
dc.contributor.authorศิริมล สมุทรสารัญth_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาพยาบาลศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2024-07-19T08:08:21Z-
dc.date.available2024-07-19T08:08:21Z-
dc.date.issued2556en_US
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12603en_US
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงพรรณนา (Descriptive research) มีวัตถุประสงค์เพื่อ1) ศึกษาสมรรถนะของพยาบาลวิชาชีพงานอุบัติเหตุและฉุกเฉิน ในโรงพยาบาลชุมชน จังหวัดพังงา และ 2) เปรียบเทียบสมรรถนะ ของพยาบาลวิชาชีพงานอุบัติเหตุและฉุกเฉินระหว่างกลุ่มที่มีอายุ ประสบการณ์ในการปฏิบัติงาน และการได้รับการอบรมเพิ่มเติมทางด้านอุบัติเหตุและฉุกเฉินแตกต่างกัน กลุ่มตัวอย่าง เป็นพยาบาลวิชาชีพที่ปฏิบัติงานในหน่วยงานอุบัติเหตุและฉุกเฉินในโรงพยาบาลชุมชน จังหวัดพังงาจำนวน 73 คน ได้จากการสุ่มตัวอย่างแบบแบ่งชั้น เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยคือ แบบประเมินสมรรถนะที่พัฒนาโดย อรทัย ปีงวงศานุรักษ์ (2540) ทดสอบความเที่ยงได้ค่าสัมประสิทธิ์อัลฟาของครอนบากเท่ากับ 0.99 วิเกราะห์ ข้อมูล ไดยใช้สถิติ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบค่าที และสถิติวิเคราะห์ความแปรปรวนแบบทางเดียวผลการศึกษาพบว่า 1)สมรรถนะของพยาบาลวิชาชีพงานอุบัติเหตุและฉุกเฉินในโรงพยาบาลชุมชน จังหวัดพังงา โดยรวมอยู่ในระดับมากโดยเรียงลำดับดังนี้ (1) ด้านกิจกรรมการพยาบาล (2) ด้านการวางแผนการพยาบาล (3) ด้านการประเมินอาการ (4) ด้านคุณลักษณะผู้นำ (5)ด้านกฎหมายและจริยธรรม (6 ด้านการบริหาร และ (7) ด้านวิชาการ 8) พยาบาลวิชาชีพงานอุบัติเหตุและฉุกเฉินที่มีอายุแตกต่างกันมีสมรรถนะไม่แตกต่างกันแต่พยาบาลวิชาชีพที่ได้รับการฝึกอบรมด้านอุบัติเหตุและฉุกเฉินและมีประสบการณ์การปฏิบัติงานแตกต่างกันมีการรับรู้สมรรถนะแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาพยาบาลศาสตร์ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการบริหารการพยาบาล --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectสมรรถนะth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--การบริหารการพยาบาลth_TH
dc.subjectพยาบาลth_TH
dc.subjectสมรรถภาพในการทำงานth_TH
dc.titleสมรรถนะของพยาบาลวิชาชีพงานอุบัติเหตุและฉุกเฉินในโรงพยาบาลชุมชน จังหวัดพังงาth_TH
dc.title.alternativeCompetencies of professional nurses at emergency departments in community hospitals, Phang-Nga Provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต(การบริหารการพยาบาล)th_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาพยาบาลศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this descriptive research were: 1) to study competencies of professional nurses at the Emergency Departments in community hospitals, Phang-Nga province and 2) to compare competencies of professional nurses at the Emergency Departments in terms of age, experience in working and additional training in accidents and emergencies. The sample included 73 professional nurses and was selected by the stratified random sampling technique at the Emergency Departments in community hospitals, Phang-Nga Province. The competency assessment form, developed by Orathai Puengwongsanuruk (2540), was used as the research instrument. The Cronbach’s alpha reliability coefficient was 0.99. Data were analyzed by percentage, mean, standard deviation, t-test, and one-way ANOVA. The research results found as follows.(1) Nursesrated their overall competencies for accidents and emergencies in their departments at community hospitals in Phang-Nga Province at the high level.Their competencies were ranked from the highest to the lowest ones as the following: 1) nursing activity, 2) nursing planning, 3) symptoms assessment, 4) leadership characteristics, 5) law and ethics, 6) administration, and 7) academic competencies. (2) There was no significant difference in age; whereas, there were significant differences in terms of experience in working and additional training in accidents and emergencies (p<.05)en_US
Appears in Collections:Nurse-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Fulltext_142801.pdfเอกสารฉบับเต็ม13.98 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons