Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12610
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorเปรมฤทัย น้อยหมื่นไวยth_TH
dc.contributor.authorสะคราญจิตร คงพันธ์th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาพยาบาลศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2024-07-24T02:08:21Z-
dc.date.available2024-07-24T02:08:21Z-
dc.date.issued256-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12610-
dc.description.abstractการวิจัยกึ่งทดลองนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบระยะเวลาใช้บริการพยาบาลของกลุ่มทดลองที่ใช้รูปแบบการจัดบริการพยาบาลที่ประยุกต์ใช้แนวคิดนและกลุ่มเปรียบเทียบที่ใช้รูปแบบปกติและศึกษาความพึงพอใจในบริการของกลุ่มทดลองที่ได้รับรูปแบบการจัดบริการพยาบาลที่ประยุกต์ใช้แนวคิดลีน กลุ่มตัวอย่างในการศึกษาเป็นผู้ป่วยนอกที่เข้ารับการผ่าตัดเล็กระบบทางเดินปัสสาวะในโรงพยาบาลกาฬสินธุ์ ที่คัดเลือกแบบเจาะจงจำนวน 80 คน สุ่มเข้ากลุ่มทดลอง 40 คน และกลุ่มเปรียบเทียบ 40 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย 1)นาฬิกาจับเวลา 2)แบบบันทึกเวลาและ3) แบบสอบถามประกอบด้วย ข้อมูลส่วนบุคคลและแบบสอบถามความพึงพอใจของผู้ป่วย ซึ่งแบบสอบถามความพึงพอใจของผู้ป่วยได้รับการตรวจความตรงตามเนื้อหา โดยผู้ทรงคุณวุฒิ 3ท่าน ได้ค่าดัชนีความตรงตามเนื้อหาเท่ากับ 0.95 และค่าสัมประสิทธิ์แอลฟาของครอนบาชเท่ากับ 0.86 และวิเคราะห์ข้อมูลด้วยการแจกแจงความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสถิติทดสอบที ผลการศึกษาพบว่า กลุ่มทดลองที่มีระยะเวลาใช้บริการพยาบาลน้อยกว่ากลุ่มเปรียบเทียบอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และกลุ่มทดลองมีความพึงพอใจในบริการโดยรวมอยู่ในระดับสูงth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาพยาบาลศาสตร์ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการบริหารการพยาบาล --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectบริการการพยาบาลของโรงพยาบาลth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--การบริหารการพยาบาลth_TH
dc.titleผลของการใช้รูปแบบการจัดบริการพยาบาลที่ประยุกต์ใช้แนวคิดลีนแก่ผู้ป่วยนอกที่เข้ารับการผ่าตัดเล็กระบบทางเดินปัสสาวะ โรงพยาบาลกาฬสินธุ์th_TH
dc.title.alternativeEffects of the application of lean concepts in the development of a nursing service management model for minor preoperative out-patients at Kalasin hospitalen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต (การบริหารการพยาบาล)th_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาพยาบาลศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this quasi-experiment research were: (1) to compare patients’ time spent between an experiment group who got the nursing service management model base on the application of lean concepts and a comparison group who got the usual nursing service and (2) to study service satisfaction of an experiment group who got the nursing service management model base on the application of lean concepts. The purposive sample of this study were out-patients with minor operative in KalasinHospital. Each of 40 patients were randomly into an experimental group and a comparison group. The research instrument included(1) a clock timer, (2) a time record form,and (3) questionnaires included personal data and patient satisfaction. The content validity of the patient satisfaction questionnaire was verified by 3 experts, and the content validity index was 0.95. Cronbach's alpha reliability coefficient was 0.86. Data were analyzed by frequency, percentage, mean, standard deviation, and t-test. The major findings were as follows. (1) Patients’ time spent of an experiment group was statistically significant lower than a comparison group at the .05 level. (2) An experiment group rated their overall service satisfaction at the high level.en_US
Appears in Collections:Nurse-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Fulltext_161005.pdfเอกสารฉบับเต็ม21.12 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons