Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12611
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสมใจ พุทธาพิทักษ์ผลth_TH
dc.contributor.authorสุดา ไพบูลย์พุฒิพงศ์th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาพยาบาลศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2024-07-24T02:17:52Z-
dc.date.available2024-07-24T02:17:52Z-
dc.date.issued2556-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12611-
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อทบทวนงานวิจัยอย่างเป็นระบบเกี่ยวกับการจัดการความวิตกกังวลผู้ป่วยก่อนการผ่าตัดรักษาทางช่องปากแบบไม่พักค้าง ศึกษาโดยการสืบกันงานวิจัยระหว่างปี ค.ศ. 2008-2012 จากฐานข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ 5 ฐานข้อมูลและการสืบค้นด้วยมือ พบงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการจัดการความวิตกกังวลผู้ป่วยก่อนการผ่าตัดรักษาทางช่องปากแบบไม่พักค้าง ตามเกณฑ์ที่กำหนด จำนวน 16 เรื่อง และผลงานวิจัยจากวิทยานิพนธ์จำนวน 3 เรื่อง รวมทั้งสิ้น 19 เรื่อง เป็นหลักฐาน ระดับ A จำนวน 16 เรื่อง และระดับ B จำนวน 3 เรื่องตามเกณฑ์ของราชวิทยาลัยอายุรแพทย์แห่งประเทศไทย ผลการทบทวนความรู้ในการจัดการความวิตกกังวลก่อนผ่าตัดรักษาทางช่องปากแบบไม่พักค้าง พบว่ามีแนวทางการจัดการ 7 แนวทางสามารถจัดได้เป็น 3 กลุ่มคือกลุ่มที่หนึ่ง พยาบาลสามารถดำเนินการได้ตามบทบาทอิสระ ได้แก่ 1) การให้ข้อมูล 2 คนตรีบำบัด และ 3) สุคนธบำบัด กลุ่มที่สองต้องใช้ทคนิคหรือผู้เชี่ยวชาญเฉพาะ มี 3 แนวทาง ได้แก่ 1)การฝั่งเข็มที่ใบหู 2) ยาคลายกังวล 3) ขา/พืชสมุนไพร และกลุ่มที่สามเป็นกลุ่มที่ใช้ทคโนโลยีขั้นสูง ได้แก่การนำระบบความเป็นจริงเสมือนมาใช้ จากผลการศึกษา พยาบาลสามารถนำแนวทางกลุ่มแรก ได้แก่ 1) การให้ช้อมูล2) คนตรีบำบัด และ3) สุคนธบำบัด มาสร้างแนวปฏิบัติทางการพยาบาลแก่ผู้ป่วยที่ได้รับการผ่าตัดรักษาทางช่องปากแบบไม่พักค้างในระยะก่อนการผ่าตัดได้ เนื่องจากเป็นบทบาทอิสระของพยาบาลสามารถลดความวิตกกังวลได้ผลดีโดยไม่ต้องอาศัยผู้เชี่ยวชาญ หรือ เทคโนโลยีขั้นสูง มีค่าใช้จ่ายน้อยth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาพยาบาลศาสตร์--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการบริหารการพยาบาล--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectความวิตกกังวลth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--การบริหารการพยาบาลth_TH
dc.titleการจัดการความวิตกกังวลก่อนการผ่าตัดรักษาทางช่องปากแบบไม่พักค้าง : การทบทวนวรรณกรรมอย่างเป็นระบบth_TH
dc.title.alternativeSystematic literature review of preoperative anxiety management in ambulatory oral surgeryth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาพยาาบาลศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objective of this study was to systematically review the preoperative anxiety management in ambulatory oral surgery. The study conducted by searching five electronic databases and hand searched of published studies since 2008 - 2012. Nineteen studies met the inclusion criteria. The 16 full texts from electronic databases and three theses are included. The studied trials were 16 of A - level evidences and 3 of B - level evidences according to The Royal College of Physicians of Thailand criterias. The results shown that there were seven interventions in preoperative anxiety management in ambulatory oral surgery that can be organized into 3 groups. First, nurses can manage by independent role:1) information giving, 2) music therapy and 3) aromatherapy; Second, managed by technician or specialists: 1) auricular acupuncture, 2) anxiolytic, 3) herbal/phyto medicine; Third, managed by using high technology: implementation of portable Virtual Reality devices. Recommendation from this study are the first group intervention: the information giving, music therapy or aromatherapy can be practically use to develop nursing practice guideline for reducing anxiety in patients with ambulatory oral surgery.en_US
dc.contributor.coadvisorสมใจ พุทธาพิทักษ์ผลth_TH
Appears in Collections:Nurse-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Fulltext_142798.pdfเอกสารฉบับเต็ม10.14 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons