Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12673
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวรางคณา จันทร์คงth_TH
dc.contributor.authorจิรภา อุตทิพย์th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพth_TH
dc.date.accessioned2024-08-09T07:53:33Z-
dc.date.available2024-08-09T07:53:33Z-
dc.date.issued2557-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12673-
dc.description.abstractการวิจัยเชิงพรรณาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) ลักษณะส่วนบุคคล ทัศนคติ แรงจูงใจ และความรู้ของบุคลากรสาธารณสุขเกี่ยวกับการดำเนินงานดูแลผู้สูงอายุระยะยาวในโรงพยาบาลส่งเสริม สุขภาพตำบลเครือข่ายอำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา (2) ระดับความพร้อมของบุคลากรสาธารณสุขต่อการ ดำเนินงานดูแลผู้สูงอายุระยะยาวในโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลเครือข่ายอำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา ด้านการวางแผน ด้านการจัดองค์กร ด้านการประสานงาน และด้านการติดตามประเมินผล และ (3) ความ สัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนบุคคล ทัศนคติ แรงจูงใจ และความรู้เกี่ยวกับการดูแลผู้สูงอายุระยะยาว ในโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล กับความพร้อมของบุคลากรสาธารณสุขต่อการดำเนินงานดูแลผู้สูงอายุ ระยะยาวในโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลเครือข่ายอำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา ประชากรที่ใช้ในการศึกษาคือ บุคลากรสาธารณสุขในโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล เครือข่ายอำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา รวมทั้งสิ้นจำนวน 122 คน โดยเก็บทุกหน่วยประชากร เก็บรวบรวม ข้อมูลโดยใช้แบบสอบถาม ได้ค่าความเชื่อมั่นเท่ากับ 0.90 วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนา ได้แก่ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสถิติเชิงอนุมาน ได้แก่ การทดสอบไคว์สแควร์ และ สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน ผลการศึกษาพบว่า (1) บุคลากรสาธารณสุขส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง อายุต่ำกว่า 30 ปี รายได้ มากกว่า 17,000 บาท ระดับการศึกษาสูงสุดอยู่ในระดับปริญญาตรี มีสถานภาพสมรสคู่ ระยะเวลาในการ ปฏิบัติงานอยู่ในตำแหน่งเจ้าพนักงานสาธารณสุข 5-10 ปี โดยมีทัศนคติในทางบวก แรงจูงใจและความรู้ อยู่ในระดับปานกลาง (2) ความพร้อมของบุคคลากรสาธารณสุขต่อการดำเนินงานดูแลผู้สูงอายุระยะยาว อยู่ในระดับปานกลางมากที่สุด และ (3) ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับความพร้อมของบุคลากรสาธารณสุขต่อ การดำเนินงานดูแลผู้สูงอายุระยะยาวในโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล ได้แก่ สถานภาพสมรส รายได้ เฉลี่ยต่อเดือน ระดับการศึกษา ระยะเวลาการปฏิบัติงานth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)th_TH
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาสาธารณสุขศาสตร์ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectบุคลากรสาธารณสุข--ไทย--ยะลาth_TH
dc.titleปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับความพร้อมของบุคลากรสาธารณสุขในการดำเนินงานการดูแลผู้สูงอายุระยะยาวในโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลเครือข่ายอำเภอเมือง จังหวัดยะลาth_TH
dc.title.alternativeFactors associated with the readiness of health personnel in the operations of long-term elderly care in Sub-district health promoting hospitals, Mueang District Network, Yala Provinceth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameสาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิต (บริหารสาธารณสุข)th_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThis descriptive study's purposes were to study: (1) personal characteristics, attitudes, motivation and knowledge of health personnel; (2) the readiness of health personnel regarding program planning, organization, coordination, and monitoring and evaluation; and (3) the relationship between personal characteristics, attitudes, motivationand knowledge about long-term elderly care, and health personnel's readiness, all involving the operations of long-term elderly care in sub-district health promoting hospitals in Mueang district, Yala province. The study was conducted among all 122 health personnel in Mueang Yala's district health network. An instrument for data collection was a questionnaire with a reliability of 0.90. Statistics for data analyses were frequency, percentage, mean, standard deviation, Pearson's Product Moment Correlation Coefficients, and Chi-square test. The results showed that, among the health personnel: (1) most of them were female, married and aged under 30 years with a monthly income of more than 17,000 baht, a bachelor's degree background, 5-10 years of service, positive attitudes, and a moderate level of motivation and knowledge; (2) their readiness for the operations of long-term care for the elderly was mostly at a moderate level; and (3) the factors related to the readiness of health personnel in the long-term elderly care at sub-district health promoting hospitals were marital status, average monthly income, educational background, and years of serviceen_US
Appears in Collections:Health-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Fulltext_145703.pdfเอกสารฉบับเต็ม13.45 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons