Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12685
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorนิตยา เพ็ญศิรินภาth_TH
dc.contributor.authorกมลทิพย์ กันบัวลา, 2535-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพth_TH
dc.date.accessioned2024-08-17T03:13:26Z-
dc.date.available2024-08-17T03:13:26Z-
dc.date.issued2564-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12685en_US
dc.description.abstractการแพ้ยาซ้ำในผู้ป่วยสามารถป้องกันได้และไม่ควรให้เกิดขึ้น เพราะจะก่อให้เกิดอันตรายต่อผู้ป่วยและอาจทำให้เสียชีวิตได้ โรงพยาบาลจึงจำเป็นต้องมีการบริหารจัดการระบบเฝ้าระวังและป้องกันการแพ้ยาซ้ำที่เป็นไปตามมาตรฐานและมีประสิทธิภาพ การศึกษาค้นคว้าอิสระนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อจัดทำคู่มือการบริหารจัดการระบบเฝ้าระวังและการป้องกันการแพ้ยาซ้ำ สำหรับบุคลากรทางการแพทย์ โรงพยาบาลบางคล้า ซึ่งจะช่วยให้เกิดความชัดเจนของกระบวนการทำงานอย่างเป็นระบบ และมีแนวปฏิบัติของสหสาขาวิชาชีพอย่างเป็นรูปธรรมผลการดำเนินงาน ได้คู่มือการบริหารจัดการระบบเฝ้าระวังและการป้องกันการแพ้ยาซ้ำสำหรับบุคลากรทางการแพทย์ โรงพยาบาลบางคล้า เนื้อหาประกอบด้วย (1) บทนำ (2) ความรู้เกี่ยวกับการแพ้ยา (3) การเฝ้าระวังการแพ้ยาและป้องกันการแพ้ยาซ้ำ โรงพยาบาลบางคล้า และ (4) แนวทางปฏิบัติของสหสาขาวิชาชีพในการเฝ้าระวังและป้องกันการแพ้ยาซ้ำ สำหรับผลการทดลองใช้คู่มือฯพบว่า บุคลากรทางการแพทย์มีความพึงพอใจต่อการใช้คู่มือโดยรวมในระดับมากที่สุด ความพึงพอใจด้านเนื้อหา 3 ลำดับแรก คือ การนำไปปฏิบัติได้จริงตามหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย รองลงมา ความสมบูรณ์ครบถ้วนของเนื้อหา และความสอดคล้องของเนื้อหากับความต้องการของผู้ใช้ ตามลำดับ สำหรับความพึงพอใจด้านรูปแบบการนำเสนอ 3 ลำดับแรก คือ ความเหมาะสมของปกและรูปเล่ม รองลงมาความเหมาะสมของตารางและรูปภาพ และความเหมาะสมของรูปแบบตัวอักษร ตามลำดับth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)th_TH
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectการแพ้ยาth_TH
dc.subjectบุคลากรทางการแพทย์th_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--สาธารณสุขศาสตร์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาสาธารณสุขศาสตร์--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.titleคู่มือการบริหารจัดการระบบเฝ้าระวังและการป้องกันการแพ้ยาซํ้า สำหรับบุคลากรทางการแพทย์ โรงพยาบาลบางคล้าth_TH
dc.title.alternativeManual of repeated drug allergy surveillance and prevention system management for medical Personnel, Bang Khla Hospitalen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameสาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeRepeated drug allergies can be severe and life life-threatening, and should not happen. Therefore, a hospital needs to have a management mechanism for its repeated allergy surveillance and prevention system based on the standards in an efficient manner. This study aimed to create a Manual of Repeated Drug Allergy Surveillance and Prevention System Management for Medical Personnel at Bang Khla Hospital, which will serve as clear systemati c operational guidance for multidisciplinary professionals in a concr ete manner. The steps for the manual preparation included: (1) reviewing the literature on the management of repeated drug allergy surveillance and prevention systems; (2) collecting and analyzing relevant data or information; (3) determining the content and drafting the manual for the management of the system for surveillance and prevention of repeated drug allergies; (4) reviewing the draft manual and assessing the manual quality by expe rts – the mean IOC scores for the manual and the questionnaire were 1 1.00; (5) revising the manual and testing it with 30 medical personnel, including doctors, pharmacists, nurses, and caregivers who took patient’s history; and (6) preparing the summary and discussion of the trial results. The results showed that the finali zed manual has the content in four chapters, namely: (1) Introduction, (2) Knowledge about drug (3) Repeated drug allergy surveillance and prevention system at Bang Khla Hospital Hospital, and (4) Practice guidelines for multidisciplinary professionals on surveillance and prevention of repeated drug allergies. Concerning the manual trial among medical personnel, they were satisfied with its overall use at a very high level, especially with the top three aspects (practical implementation of assigned duties, followed by content completeness and consistency of content with user's requirements); and as for the satisfaction with its presentation style, the top three aspects were the suitability of the cover and booklet format, the appropriateness of tables and images, and the suitability of the font style.en_US
Appears in Collections:Health-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
FULLTEXT.pdfเอกสารฉบับเต็ม21.66 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons