Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12688
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorนิตยา เพ็ญศิรินภาth_TH
dc.contributor.authorจิรภา บัวจันทร์-
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพth_TH
dc.date.accessioned2024-08-17T04:23:13Z-
dc.date.available2024-08-17T04:23:13Z-
dc.date.issued2564-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12688-
dc.description.abstractผู้ป่วยอาการปวดหลังจำเป็นต้องรักษาด้วยธาราบำบัดโดยการออกกำลังกายในน้ำอย่างต่อเนื่อง หากผู้ป่วยสามารถทำด้วยตนเองอย่างถูกวิธีจะลดการรอคอยเพื่อมาใช้บริการจากแผนกกายภาพบำบัดของโรงพยาบาลการศึกษาค้นคว้าอิสระนี้จึงมีวัตถุประสงค์ เพื่อจัดทำคู่มือการทำธาราบำบัดสำหรับผู้ป่วยที่มีอาการปวดหลัง โรงพยาบาลวชิระภูเก็ต เพื่อให้ผู้ป่วยที่มีอาการปวดหลังสามารถทำธาราบำบัดหรือออกกำลังกายในน้ำด้วยตนเองได้ถูกต้องและเหมาะสมส่งผลให้อาการปวดหลังของผู้ป่วยลดลงขั้นตอนในการจัดทำคู่มือ ได้แก่ (1) ทบทวนวรรณกรรม (2) รวบรวมและวิเคราะห์ข้อมูลที่เกี่ยวข้อง (3) กำหนดเนื้อหาและจัดทำร่างคู่มือการทำธาราบำบัดสำหรับผู้ป่วยที่มีอาการปวดหลังโรงพยาบาลวชิระภูเก็ต (4) ตรวจสอบคู่มือและแบบประเมินความพึงพอใจในการใช้คู่มือฯ โดยผู้ทรงคุณวุฒิ 3 คน ได้ค่าเฉลี่ยดัชนีความสอดคล้องเท่ากับ 1.0 ทั้งคู่มือและแบบประเมิน (5) นำคู่มือฯที่ปรับแก้ไขแล้วไปทดลองใช้กับผู้ป่วยที่มีอาการปวดหลังจำนวน 4 คน แล้วให้ประเมินความพึงพอใจและ (6) สรุปผล อภิปรายและ ข้อเสนอแนะผลการดำเนินงานได้คู่มือการทำธาราบำบัดสำหรับผู้ป่วยที่มีอาการปวดหลัง โรงพยาบาลวชิระภูเก็ต เนื้อหา มี 5 บท ประกอบด้วย (1) บทนำ (2) ความรู้เกี่ยวกับอาการปวดหลัง (3) การรักษาอาการปวดหลังด้วยธาราบำบัด (4) ท่าออกกำลังกายแบบธาราบำบัดสำหรับผู้ป่วยปวดหลัง และ (5)การป้องกันอาการปวดหลัง สำหรับผลการทดลองการใช้คู่มือฯ พบว่าความพึงพอใจต่อคู่มือโดยรวมอยู่ในระดับความพึงพอใจมาก ในด้านเนื้อหาหัวข้อความน่าเชื่อถือของข้อมูลและหัวข้อการนำปฏิบัติได้จริงอยู่ในระดับความพึงพอใจมากที่สุดตามลำดับส่วนที่เหลืออยู่ในระดับความพึงพอใจมากด้านรูปแบบการนำเสนอพบว่าความเหมาะสมของรูปภาพอยู่ในระดับความพึงพอใจมากที่สุดส่วนหัวข้อที่เหลืออยู่ในระดับความพึงพอใจมากth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)th_TH
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectกายภาพบำบัดth_TH
dc.subjectปวดหลัง--การรักษาด้วยการออกกำลังกายth_TH
dc.subjectปวดหลัง--กายภาพบำบัดth_TH
dc.titleคู่มือการทำธาราบำบัดสำหรับผู้ป่วยที่มีอาการปวดหลัง โรงพยาบาลวชิระภูเก็ตth_TH
dc.title.alternativeManual on hydrotherapy for back pain patients at Vachira Phuket Hospitalen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameสาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativePatients with back pain need to be treated with continuous hydrotherapy using water exercises. If the patients can do it by themselves, it can reduce the waiting time for physical therapy services. This study, therefore, aimed to create a manual on hydroth erapy for Vachira Phuket Hospital’s patients with back pain. With the application of this manual, it is hoped that they will perform hydrotherapy exercises correctly and appropriately, thus contributing to back pain reduction. Procedures for preparing the manual entailed: (1) reviewing relevant (2) collecting and analyzing related data; (3) outlining and drafting the content of the manual; (4) examining the manual and the satisfaction assessment form in using the manual by three experts; (5) emp loying the revised manual in a trial with four patients to assess their satisfaction; and (6) evaluating the results as well as providing a discussion and recommendations. The newly prepared manual comprises five chapters: (1) introduction; (2) fundament al knowledge regarding back pain; (3) the treatment of back pain by hydrotherapy; (4) hydrotherapy exercises for back pain patients; and (5) possible prevention of back pain. Following patients’ application of the manual, it was found that the overall sati sfaction with the manual was at a high level. The reliability of information and practical implementation of the content obtained the highest level of satisfaction, and the rest received high satisfaction. Regarding the presentation style, its level of sat isfaction with the suitability of the pictures was highest, while those with other topics were high.en_US
Appears in Collections:Health-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
FULLTEXT.pdfเอกสารฉบับเต็ม12.12 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons