Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12702
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorดรุณี จำปาทองth_TH
dc.contributor.authorสนธินี ผิวแก้ว-
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2024-08-22T04:03:32Z-
dc.date.available2024-08-22T04:03:32Z-
dc.date.issued2564-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12702-
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนระหว่างก่อนเรียนและหลังเรียนด้วยการจัดการเรียนรู้โดยวิธีการทางประวัติศาสตร์ เรื่องการปฏิรูปบ้านเมืองในประวัติศาสตร์ไทย ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนวังน้ำเย็นวิทยาคม จังหวัดสระแก้ว กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้คือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2564 โรงเรียนวังน้ำเย็นวิทยาคม จังหวะสระแก้ว จำนวน 34 คน ได้มาโดยการสุ่มแบบกลุ่ม เครื่องมือทึ่ใช้ในการวิจัยคือ (1) แผนจัดการเรียนรู้โดยวิธีการทางประวัติศาสตร์ และ (2) แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบค่าที ผลการวิจัยปรากฎว่า คะแนนเฉลี่ยผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียนของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนวังน้ำเย็นวิทยาคม ที่รับการจัดการเรียนรู้โดยวิธีการทางประวัติศาสตร์สูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectประวัติศาสตร์--การศึกษาและการสอนth_TH
dc.titleผลการจัดการเรียนรู้โดยวิธีการทางประวัติศาสตร์ เรื่อง การปฏิรูปบ้านเมืองในประวัติศาสตร์ไทย ที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนวังน้ำเย็นวิทยาคมจังหวัดสระแก้วth_TH
dc.title.alternativeThe effects of historical teaching method in the topic of administrative reform in Thai history on learning achievement of grade 10 students at Wangnamyen Wittayakom School in Sa Kaeo Provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameศึกษาศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThis study aimed to compare the learning achievement before and after using historical method in the topic of administrative reform in Thai history on learning achievement of grade 10 students at Wangnamyen Wittayakom School in Sa Kaeo Province. The research samples consisted of thirty-four students studying in the second semester of academic year 2021 in an intact classroom obtained by cluster random sampling. The research instruments were (1) lesson plans of historical teaching method and (2) an achievement test. The statistics employed for data analysis were mean, standard deviation, and t-test. The finding revealed that the average scores of learning achievement of grade 10 students after learning by using the historical teaching method was higher than the pre-learning counterpart with statistical significance at the .01 level.en_US
Appears in Collections:Edu-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
168820.pdfเอกสารฉบับเต็ม19.31 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons