Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12731
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | อารยา ประเสริฐชัย | th_TH |
dc.contributor.author | อานีซะ ติงกูแว, 2532- | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ | th_TH |
dc.date.accessioned | 2024-09-12T08:12:41Z | - |
dc.date.available | 2024-09-12T08:12:41Z | - |
dc.date.issued | 2562 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12731 | en_US |
dc.description.abstract | การวิจัยเชิงพัฒนานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) พัฒนากระบวนการการลดระยะเวลาการรอรับบริการคิวรอแทรกในแผนกศัลยกรรม และ (2) เปรียบเทียบระยะเวลาเฉลี่ยของระยะเวลารอรับ บริการคิวรอแทรก ก่อนและหลังการพัฒนากระบวนการรอรับบริการโดยใช้แนวคิดแบบลีน ประชากรที่ใช้ศึกษาเป็นผู้รับบริการที่มีการลงทะเบียนเข้ารับบริการในแผนกศัลยกรรม โรงพยาบาลบำรุงราษฎร์ ช่วงปี พ.ศ.2561-2562 จำนวน 2000 คน โดยใช้เกณฑ์การคัดเข้าได้กลุ่มตัวอย่างจำนวน 200 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย 2 ส่วนคือ (1) กระบวนการให้บริการเพื่อลดระยะเวลาการรอรับบริการโดยใช้แนวคิดแบบลีนและ (2) เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล ได้แก่ แบบสำรวจระยะเวลาการรอรับบริการคิวรอแทรก แผนกศัลยกรรม โรงพยาบาลบำรุงราษฎร์ ผลการศึกษาพบว่า (1) กระบวนการรอรับบริการที่พัฒนาขึ้นโดยใช้แนวคิดแบบลีน สามารถลดระยะเวลาการรอรับบริการคิวรอแทรกหลังการพัฒนาจากเดิม 2 ชั่วโมง 35 นาที เป็นเวลา 1 ชั่วโมง 34 นาที จากก่อนการพัฒนาเป็นร้อยละ 43 และ (2) สามารถลดลงได้โดยการพัฒนาแผนผังการไหลและการจัดตารางนัดเฉพาะคิวรอแทรก โดยแบ่งช่วงเวลาการให้บริการเป็นช่วงตามลักษณะประเภทของผู้มารับบริการ | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | th_TH |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ--การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาสาธารณสุขศาสตร์--การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.subject | พนักงานในโรงงานอาหารทะเลแช่เยือกแข็ง--การทำงาน | th_TH |
dc.subject | การทำงาน--พฤติกรรม | การศึกษาอิสระ--สาธารณสุขศาสตร์ | th_TH |
dc.subject | ความปลอดภัยในงานอุตสาหกรรม | th_TH |
dc.title | การพัฒนาการลดระยะเวลารอรับบริการคิวรอแทรก แผนกศัลยกรรม โรงพยาบาลบำรุงราษฎร์ อินเตอร์เนชั่นแนล | th_TH |
dc.title.alternative | Development of Service Time Reduction of Stand by Queue, Surgical Clinic, Bumrungrad International Hospital | th_TH |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | สาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | This developmental research aimed (1) to create a process for reducing patients’ waiting times in standby queues for a surgery and (2) make a comparison of average waiting times in standby queues for a surgery pre- and post-implementation of the LEAN approach for reducing waiting times in standby queues, both in the Surgery Department at Bumrungrad International Hospital. The study was undertaken in a sample of 200 patients selected as per the established criteria out of 2,000 patients registered for a surgery in the hospital’s Surgery Department during 2018–2019. The instruments used in this research were: (1) the LEAN approach for standby waiting time reduction; and (2) a survey form for collecting data on waiting times in standby queues at the hospital’s Surgery Department. The results showed that: (1) the LEAN approach process developed for reducing waiting times in standby queues could decrease the average waiting time from 2 hours 35 minutes before intervention to 1 hour 34 minutes after intervention – a 43% reduction; and (2) the waiting time reduction were attributable to the use of the newly developed workflow process and revised appointment scheduling management for standby queues, based on the time periods of services and the types of clients. | en_US |
Appears in Collections: | Health-Independent study |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
fulltext_162199.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 2.71 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License